ใจสั่งมา

ใจสั่งมา

ผู้ถูกราคะย้อม ถูกกองมืด (อวิชชา) ห่อหุ้มแล้ว ย่อมไม่เห็นธรรม ฯลฯ

ผู้ถูกราคะย้อม ถูกกองมืด (อวิชชา) ห่อหุ้มแล้ว ย่อมไม่เห็นธรรมสำหรับฝืนใจอันละเอียดลออ ลึกซึ้ง ซึ่งเห็นได้ยาก
ปฏิโสตคามึ นิปุณํ คมฺภีรํ ทุทฺทสํ อณุํ ราครตฺตา น ทกฺขนฺติ ตโมกฺขนฺเธน อาวุตา. “ผู้ถูกราคะย้อม ถูกกองมืด (อวิชชา) ห่อหุ้มแล้ว ย่อมไม่เห็นธรรมสำหรับฝืนใจอันละเอียดลออ ลึกซึ้ง ซึ่งเห็นได้ยาก.”

ผู้ไม่คดโกง ไม่พูดเพ้อ มีปรีชา ไม่หยิ่ง มีใจมั่นคง นั้นแล ย่อมงดงาม ฯลฯ

ผู้ไม่คดโกง ไม่พูดเพ้อ มีปรีชา ไม่หยิ่ง มีใจมั่นคง นั้นแล ย่อมงดงามในธรรม ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าแสดงแล้ว
ผู้ไม่คดโกง ไม่พูดเพ้อ มีปรีชา ไม่หยิ่ง มีใจมั่นคง นั้นแล ย่อมงดงามในธรรม ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าแสดงแล้ว

เขากล่าวว่า ฟ้ากับดินไกลกัน และฝั่งทะเลก็ไกลกัน ฯลฯ

เขากล่าวว่า ฟ้ากับดินไกลกัน และฝั่งทะเลก็ไกลกัน แต่ธรรมของสัตบุรุษกับของอสัตบุรุษ ไกลกันยิ่งกว่า
เขากล่าวว่า ฟ้ากับดินไกลกัน และฝั่งทะเลก็ไกลกัน แต่ธรรมของสัตบุรุษกับของอสัตบุรุษ ไกลกันยิ่งกว่า

คนมีตัณหาเป็นเพื่อน ท่องเที่ยวอยู่ช้านาน ไม่ล่วงพ้นสงสาร ที่กลับกลอกไปได้

คนมีตัณหาเป็นเพื่อน ท่องเที่ยวอยู่ช้านาน ไม่ล่วงพ้นสงสาร ที่กลับกลอกไปได้
ตณฺหาทุติโย ปุริโส ทีฆมทฺธาน สํสรํ อิตฺถมฺภาวญฺญถาภาวํ สํสารํ นาติวตฺตติ. “คนมีตัณหาเป็นเพื่อน ท่องเที่ยวอยู่ช้านาน ไม่ล่วงพ้นสงสาร ที่กลับกลอกไปได้.”

กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร จัณฑาล และคนงานชั้นต่ำ ฯลฯ

กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร จัณฑาล และคนงานชั้นต่ำ ประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว ย่อมเป็นผู้เสมอกันในสวรรค์ชั้นไตรทิพย์
ขตฺติยา พฺราหฺมณา เวสฺสา สุทฺทา จณฺฑาลปุกฺกุสา อิธ ธมฺมํ จริตฺวาน ภวนฺติ ติทิเว สมา. “กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร จัณฑาล และคนงานชั้นต่ำ ประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว ย่อมเป็นผู้เสมอกันในสวรรค์ชั้นไตรทิพย์.”

ผู้มีปัญญาทราม มีจิตใจกระด้าง ถึงฟังคำสอนของพระชินเจ้า ฯลฯ

ผู้มีปัญญาทราม มีจิตใจกระด้าง ถึงฟังคำสอนของพระชินเจ้า ก็ยังห่างไกลจากพระสัทธรรม เหมือนดินกับฟ้า
อุปารมฺภจิตฺโต ทุมฺเมโธ สุณาติ ชินสาสนํ อารกา โหติ สทฺธมฺมา นภโส ปฐวี ยถา. “ผู้มีปัญญาทราม มีจิตใจกระด้าง ถึงฟังคำสอนของพระชินเจ้า ก็ยังห่างไกลจากพระสัทธรรม เหมือนดินกับฟ้า.”

ผู้ใดสอนธรรมแก่คนปฏิบัติไม่ถูก ถ้าเขาทำตามคำของผู้นั้น จะไม่ไปสู่ทุคติ

ผู้ใดสอนธรรมแก่คนปฏิบัติไม่ถูก ถ้าเขาทำตามคำของผู้นั้น จะไม่ไปสู่ทุคติ
ผู้ใดสอนธรรมแก่คนปฏิบัติไม่ถูก ถ้าเขาทำตามคำของผู้นั้น จะไม่ไปสู่ทุคติ (พุทฺธ) ขุ.ชา.สฏฺฐี. 28/39.

ผู้ให้ของชอบใจ ย่อมได้ของชอบใจ ผู้ให้ของเลิศ ย่อมได้ของเลิศ ฯลฯ

ผู้ให้ของชอบใจ ย่อมได้ของชอบใจ ผู้ให้ของเลิศ ย่อมได้ของเลิศ ผู้ให้ของดี ย่อมได้ของดี ผู้ให้ของประเสริฐ ย่อมถึงฐานะอันประเสริฐ
ผู้ให้ของชอบใจ ย่อมได้ของชอบใจ ผู้ให้ของเลิศ ย่อมได้ของเลิศ ผู้ให้ของดี ย่อมได้ของดี ผู้ให้ของประเสริฐ ย่อมถึงฐานะอันประเสริฐ (พุทฺธ) องฺ.ปญฺจก. 22/56.

ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำลัง ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้ผิวพรรณ ฯลฯ

ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำลัง ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้ผิวพรรณ ผู้ให้ยานพาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข ผู้ให้ประทีปโคมไฟ ชื่อว่าให้จักษุ
ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำลัง ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้ผิวพรรณ ผู้ให้ยานพาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข ผู้ให้ประทีปโคมไฟ ชื่อว่าให้จักษุ (พุทฺธ) สํ.ส. 15/44.

ผู้ใดให้ทานในบุคคลที่ไม่ควรให้ ไม่ให้ในคนที่ควรให้ ฯลฯ

ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำลัง ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้ผิวพรรณ ผู้ให้ยานพาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข ผู้ให้ประทีปโคมไฟ ชื่อว่าให้จักษุ
ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำลัง ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้ผิวพรรณ ผู้ให้ยานพาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข ผู้ให้ประทีปโคมไฟ ชื่อว่าให้จักษุ (โพธิสตฺต) ขุ.ชา.จตุกฺก. 27/129.

ผู้ใดไม่ให้ทานในคนที่ไม่ควรให้ ย่อมให้ในคนที่ควรให้ ฯลฯ

ผู้ใดไม่ให้ทานในคนที่ไม่ควรให้ ย่อมให้ในคนที่ควรให้ ผู้นั้นประสบความเสื่อมเพราะอันตราย ย่อมได้สหาย
ผู้ใดไม่ให้ทานในคนที่ไม่ควรให้ ย่อมให้ในคนที่ควรให้ ผู้นั้นประสบความเสื่อมเพราะอันตราย ย่อมได้สหาย (โพธิสตฺต) ขุ.ชา.จตุกฺก. 27/129.

ผู้ใดให้ที่พัก ผู้นั้นชื่อว่าให้สิ่งทั้งปวง ผู้ใดสอนธรรม ผู้นั้นชื่อว่าให้อมตะ

ผู้ใดให้ที่พัก ผู้นั้นชื่อว่าให้สิ่งทั้งปวง ผู้ใดสอนธรรม ผู้นั้นชื่อว่าให้อมตะ
ผู้ใดให้ที่พัก ผู้นั้นชื่อว่าให้สิ่งทั้งปวง ผู้ใดสอนธรรม ผู้นั้นชื่อว่าให้อมตะ (พุทฺธ) สํ.ส. 15/45.

ห้วงน้ำที่เต็ม ย่อมยังสาครให้เต็มได้ ฉันใด ทานที่ให้แต่โลกนี้ ฯลฯ

ห้วงน้ำที่เต็ม ย่อมยังสาครให้เต็มได้ ฉันใด ทานที่ให้แต่โลกนี้ ย่อมสำเร็จประโยชน์แก่ผู้ละไปแล้ว ฉันนั้น
ห้วงน้ำที่เต็ม ย่อมยังสาครให้เต็มได้ ฉันใด ทานที่ให้แต่โลกนี้ ย่อมสำเร็จประโยชน์แก่ผู้ละไปแล้ว ฉันนั้น (พุทฺธ) ขุ.ขุ. 25/10.

พึงนำ (สมบัติ) ออกด้วยการให้ วัตถุที่ให้แล้วย่อมเป็นอันนำออกดีแล้ว ฯลฯ

พึงนำ (สมบัติ) ออกด้วยการให้ วัตถุที่ให้แล้วย่อมเป็นอันนำออกดีแล้ว วัตถุที่ให้แล้วย่อมมีผลเป็นสุข ส่วนวัตถุที่ยังไม่ได้ให้ก็ไม่เป็นอย่างนั้น
พึงนำ (สมบัติ) ออกด้วยการให้ วัตถุที่ให้แล้วย่อมเป็นอันนำออกดีแล้ว วัตถุที่ให้แล้วย่อมมีผลเป็นสุข ส่วนวัตถุที่ยังไม่ได้ให้ก็ไม่เป็นอย่างนั้น (เทวตา) สํ.ส. 15/43.

ผู้ให้สิ่งอันเลิศ ให้สิ่งที่ดี ให้สิ่งที่ประเสริฐ ย่อมเป็นผู้มีอายุยืน ฯลฯ

ผู้ให้สิ่งอันเลิศ ให้สิ่งที่ดี ให้สิ่งที่ประเสริฐ ย่อมเป็นผู้มีอายุยืน มียศในภพที่ตนเกิด
ผู้ให้สิ่งอันเลิศ ให้สิ่งที่ดี ให้สิ่งที่ประเสริฐ ย่อมเป็นผู้มีอายุยืน มียศในภพที่ตนเกิด (พุทฺธ) องฺ.ปญฺจก. 22/56.

เมื่อให้ทานในวัตถุอันเลิศ บุญอันเลิศ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สุข ฯลฯ

เมื่อให้ทานในวัตถุอันเลิศ บุญอันเลิศ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สุข และกำลังอันเลิศ ย่อมเจริญ
เมื่อให้ทานในวัตถุอันเลิศ บุญอันเลิศ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สุข และกำลังอันเลิศ ย่อมเจริญ (พุทฺธ) ขุ.อิติ. 25/299.

ผู้มีปัญญา พึงรักษาจิตที่เห็นได้ยากนัก ละเอียดนัก มักตกไปในอารมณ์ ฯลฯ

ผู้มีปัญญา พึงรักษาจิตที่เห็นได้ยากนัก ละเอียดนัก มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่ (เพราะว่า) จิตที่คุ้มครองแล้ว นำสุขมาให้
ผู้มีปัญญา พึงรักษาจิตที่เห็นได้ยากนัก ละเอียดนัก มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่ (เพราะว่า) จิตที่คุ้มครองแล้ว นำสุขมาให้

คนใดมีจิตไม่ท้อถอย มีใจไม่หดหู่ บำเพ็ญกุศลธรรมเพื่อบรรลุธรรม ฯลฯ

คนใดมีจิตไม่ท้อถอย มีใจไม่หดหู่ บำเพ็ญกุศลธรรมเพื่อบรรลุธรรมที่เกษมจากโยคะ พึงบรรลุธรรมเป็นที่สิ้นสังโยชน์ทั้งปวงได้
คนใดมีจิตไม่ท้อถอย มีใจไม่หดหู่ บำเพ็ญกุศลธรรมเพื่อบรรลุธรรมที่เกษมจากโยคะ พึงบรรลุธรรมเป็นที่สิ้นสังโยชน์ทั้งปวงได้

ภิกษุเพ่งพินิจ มีจิตหลุดพ้น รู้ความเกิดและความเสื่อมแห่งโลกแล้ว ฯลฯ

ภิกษุเพ่งพินิจ มีจิตหลุดพ้น รู้ความเกิดและความเสื่อมแห่งโลกแล้ว มีใจดี ไม่ถูกกิเลสอาศัย มีธรรมนั้นเป็นอานิสงส์ พึงหวังความบริสุทธิ์แห่งใจได้
ภิกษุเพ่งพินิจ มีจิตหลุดพ้น รู้ความเกิดและความเสื่อมแห่งโลกแล้ว มีใจดี ไม่ถูกกิเลสอาศัย มีธรรมนั้นเป็นอานิสงส์ พึงหวังความบริสุทธิ์แห่งใจได้

ผู้ใดทำกรรมชั่ว ล่อลวงเอาทรัพย์สมบัติพี่น้องพ่อแม่ ผู้นั้น มีจิตชั่วร้าย ฯลฯ

ผู้ใดทำกรรมชั่ว ล่อลวงเอาทรัพย์สมบัติพี่น้องพ่อแม่ ผู้นั้น มีจิตชั่วร้าย ย่อมไม่มีความเจริญ แม้เทวดาก็ไม่บูชาเขา
ผู้ใดทำกรรมชั่ว ล่อลวงเอาทรัพย์สมบัติพี่น้องพ่อแม่ ผู้นั้น มีจิตชั่วร้าย ย่อมไม่มีความเจริญ แม้เทวดาก็ไม่บูชาเขา

การฝึกจิตที่ข่มยาก ที่เบา มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่ เป็นความดี ฯลฯ

การฝึกจิตที่ข่มยาก ที่เบา มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่ เป็นความดี (เพราะว่า) จิตที่ฝึกดีแล้ว นำสุขมาให้
การฝึกจิตที่ข่มยาก ที่เบา มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่ เป็นความดี (เพราะว่า) จิตที่ฝึกดีแล้ว นำสุขมาให้

ผู้ถูกตัณหาครอบงำ ถูกศีลพรตผูกมัด ประพฤติตบะอันเศร้าหมอง ฯลฯ

ผู้ถูกตัณหาครอบงำ ถูกศีลพรตผูกมัด ประพฤติตบะอันเศร้าหมองตั้งร้อยปี จิตของเขาก็หลุดพ้นด้วยดีไม่ได้ เขามีตนเลว จะถึงฝั่งไม่ได้
ผู้ถูกตัณหาครอบงำ ถูกศีลพรตผูกมัด ประพฤติตบะอันเศร้าหมองตั้งร้อยปี จิตของเขาก็หลุดพ้นด้วยดีไม่ได้ เขามีตนเลว จะถึงฝั่งไม่ได้

บุคคลรู้กายนี้ที่เปรียบด้วยหม้อ กั้นจิตที่เปรียบด้วยเมืองนี้แล้ว ฯลฯ

บุคคลรู้กายนี้ที่เปรียบด้วยหม้อ กั้นจิตที่เปรียบด้วยเมืองนี้แล้ว พึงรบมารด้วยอาวุธคือปัญญา และพึงรักษาแนวที่ชนะไว้ ไม่พึง ยับยั้งอยู่
บุคคลรู้กายนี้ที่เปรียบด้วยหม้อ กั้นจิตที่เปรียบด้วยเมืองนี้แล้ว พึงรบมารด้วยอาวุธคือปัญญา และพึงรักษาแนวที่ชนะไว้ ไม่พึง ยับยั้งอยู่

จิตของท่านย่อมเดือดร้อนเพราะเข้าใจผิด ท่านจงเว้นเครื่องหมาย ฯลฯ

จิตของท่านย่อมเดือดร้อนเพราะเข้าใจผิด ท่านจงเว้นเครื่องหมายที่สวยงามประกอบด้วยความรัก
จิตของท่านย่อมเดือดร้อนเพราะเข้าใจผิด ท่านจงเว้นเครื่องหมายที่สวยงามประกอบด้วยความรัก (อานนฺท) สํ.ส. 15/277.

ผู้มีจิตอันไม่ชุ่มด้วยราคะ มีใจอันโทสะไม่กระทบแล้ว มีบุญและบาป ฯลฯ

ผู้มีจิตอันไม่ชุ่มด้วยราคะ มีใจอันโทสะไม่กระทบแล้ว มีบุญและบาปอันละได้แล้ว ตื่นอยู่ ย่อมไม่มีภัย
ผู้มีจิตอันไม่ชุ่มด้วยราคะ มีใจอันโทสะไม่กระทบแล้ว มีบุญและบาปอันละได้แล้ว ตื่นอยู่ ย่อมไม่มีภัย

ภูเขาหินแท่งทึบ ไม่สั่นสะเทือนเพราะลม ฉันใด บัณฑิตย่อมไม่ ฯลฯ

ภูเขาหินแท่งทึบ ไม่สั่นสะเทือนเพราะลม ฉันใด บัณฑิตย่อมไม่หวั่นไหว ในนินทาและสรรเสริญ ฉันนั้น
ภูเขาหินแท่งทึบ ไม่สั่นสะเทือนเพราะลม ฉันใด บัณฑิตย่อมไม่หวั่นไหว ในนินทาและสรรเสริญ ฉันนั้น (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/25.

จิตนี้ถูกยกขึ้นจากอาลัยคือกามคุณ เพื่อละที่ตั้งแห่งมาร ย่อมดิ้นรน ฯลฯ

จิตนี้ถูกยกขึ้นจากอาลัยคือกามคุณ เพื่อละที่ตั้งแห่งมาร ย่อมดิ้นรนเหมือนปลาถูกจับขึ้นจากน้ำโยนไปบนบกฉะนั้น
จิตนี้ถูกยกขึ้นจากอาลัยคือกามคุณ เพื่อละที่ตั้งแห่งมาร ย่อมดิ้นรนเหมือนปลาถูกจับขึ้นจากน้ำโยนไปบนบกฉะนั้น

ผู้ใด มักหวาดสะดุ้งต่อเสียง เหมือนเนื้อทรายในป่า ท่านเรียกผู้นั้นว่า ฯลฯ

ผู้ใด มักหวาดสะดุ้งต่อเสียง เหมือนเนื้อทรายในป่า ท่านเรียกผู้นั้นว่า มีจิตเบา พรตของเขาย่อมไม่สำเร็จ
ผู้ใด มักหวาดสะดุ้งต่อเสียง เหมือนเนื้อทรายในป่า ท่านเรียกผู้นั้นว่า มีจิตเบา พรตของเขาย่อมไม่สำเร็จ