กายสุจริต

สิ่งที่ไม่ควรประมาท 4 ประการ

สิ่งที่ไม่ควรประมาท 4 ประการ

ความประมาท หมายถึง ความลุ่มหลงมัวเมา ก็ได้ ความขาดสติ, ความเผอเรอ ก็ได้ ความไม่เอาใจใส่ ไม่ให้ความสำคัญ ก็ได้ ความประมาทในที่นี้ หมายเอาการไม่เอาใจใส่ หรือการไม่ให้ความสำคัญ ดังนั้น สิ่งที่ไม่ควรประมาท จึงหมายถึง สิ่งที่ไม่ควรละเลย หรือสิ่งที่ควรให้ความสำคัญ มี 4 ประการ
อ่านต่อสิ่งที่ไม่ควรประมาท 4 ประการ
ทวาร 3 ประการ

ทวาร 3 ประการ

ทวาร แปลว่า ประตู ทาง หรือช่องทาง มีความหมายเป็น 2 นัย คือ นัยที่ 1 หมายถึงช่องทางในการรับรู้อารมณ์ มี 6 อย่าง เรียกว่า ทวาร 6 นัยที่ 2 หมายถึงช่องทางในการทำกรรม มี 3 ทาง เรียกว่า ทวาร 3
อ่านต่อทวาร 3 ประการ
อานิสงส์ของสุจริต 5 ประการ

อานิสงส์ของสุจริต 5 ประการ

สุจริต คือ ความประพฤติดี หรือการทำความดีนั่นเอง แบ่งเป็น 3 อย่าง คือ การทำความดีทางกาย เรียกว่า กายสุจริต การทำความดีทางวาจา เรียกว่า วจีสุจริต และการทำความดีทางใจ เรียกว่า มโนสุจริต
อ่านต่ออานิสงส์ของสุจริต 5 ประการ
สุจริต 3 ประการ

สุจริต 3 ประการ

สุจริต แปลว่า ความประพฤติดี หมายถึง การทำความดีทางกาย ทางวาจา และทางใจ อันจะเป็นเหตุให้เกิดความสุขสงบร่มเย็นทั้งแก่ตนเองและผู้อื่น มี 3 อย่าง
อ่านต่อสุจริต 3 ประการ
โอวาทของพระพุทธเจ้า 3 ข้อ

โอวาทของพระพุทธเจ้า 3 ข้อ

โอวาทของพระพุทธเจ้า หรือ พุทธโอวาท หมายถึง คำสอนของพระพุทธเจ้า หมายเอาคำสอนที่พระพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ตรัสสอนเหล่าพุทธสาวก
อ่านต่อโอวาทของพระพุทธเจ้า 3 ข้อ
ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ได้ยินว่า ตนแลฝึกได้ยาก

ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ฯลฯ

ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ได้ยินว่า ตนแลฝึกได้ยาก (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/36.
อ่านต่อถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ฯลฯ