อนิจจตา

ธรรมนิยาม 3 ประการ

ธรรมนิยาม 3 ประการ

ธรรมนิยาม แปลว่า กำหนดแห่งธรรมดา ความเป็นไปอันแน่นอนโดยธรรมดา หรือ กฎธรรมชาติ หมายถึง กฎธรรมชาติที่ไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้ สรรพสิ่งทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ล้วนต้องเป็นไปตามกฎนี้ มี 3 อย่าง
อ่านต่อธรรมนิยาม 3 ประการ
อย่ามัวแต่ประมาท อย่ามัวแต่สนิทชิดชอบในกาม เพราะผู้ไม่ประมาท พิจารณาอยู่ ย่อมถึงความสุขอย่างยิ่ง

อย่ามัวแต่ประมาท อย่ามัวแต่สนิทชิดชอบในกาม เพราะผู้ไม่ประมาท ฯลฯ

อย่ามัวแต่ประมาท อย่ามัวแต่สนิทชิดชอบในกาม เพราะผู้ไม่ประมาท พิจารณาอยู่ ย่อมถึงความสุขอย่างยิ่ง. (พุทฺธ) สํ.ส. 15/36.
อ่านต่ออย่ามัวแต่ประมาท อย่ามัวแต่สนิทชิดชอบในกาม เพราะผู้ไม่ประมาท ฯลฯ
สามัญญลักษณะ (ไตรลักษณ์) 3 ประการ

สามัญญลักษณะ (ไตรลักษณ์) 3 ประการ

สามัญลักษณะ หรือ ไตรลักษณ์ คือ ลักษณะที่เสมอกันของสังขารทั้งหลาย อาการที่เป็นเครื่องกำหนดหมายให้รู้ถึงความจริงของสภาวธรรมทั้งหลาย ที่เป็นอย่างนั้นตามธรรมดาของมัน คือทุกสิ่งทุกอย่างล้วนตกอยู่ในลักษณะเหล่านี้ทั้งหมด มี 3 ประการ
อ่านต่อสามัญญลักษณะ (ไตรลักษณ์) 3 ประการ
สมาธิ 3 ประการ

สมาธิ 3 ประการ (หมวดที่ 2)

สมาธิ คือ ความตั้งมั่นแห่งจิต อาการที่จิตตั้งมั่นไม่หวั่นไหวในอารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง แบ่งเป็นสมาธิในสมถะ หรือสมาธิที่เกิดจากการเจริญสมถกรรมฐาน อย่างหนึ่ง สมาธิในวิปัสสนา หรือสมาธิที่เกิดจากการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน อย่างหนึ่ง
อ่านต่อสมาธิ 3 ประการ (หมวดที่ 2)