พุทธศาสนสุภาษิต

พุทธศาสนสุภาษิต พร้อมคำอ่าน คำแปล ความหมาย และคำอธิบาย เข้าใจง่าย นำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันอย่างได้ผล เพื่อความเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี

ผู้ทำบุญแล้ว ย่อมบันเทิงในโลกนี้ ละไปแล้วย่อมบันเทิง ชื่อว่าย่อมบันเทิงในโลกทั้งสอง เขาเห็นความบริสุทธิ์แห่งกรรมของตนแล้ว ย่อมบันเทิงปราโมทย์

ผู้ทำบุญแล้ว ย่อมบันเทิงในโลกนี้ ละไปแล้วย่อมบันเทิง ฯลฯ

ผู้ทำบุญแล้ว ย่อมบันเทิงในโลกนี้ ละไปแล้วย่อมบันเทิง ชื่อว่าย่อมบันเทิงในโลกทั้งสอง เขาเห็นความบริสุทธิ์แห่งกรรมของตนแล้ว ย่อมบันเทิงปราโมทย์
อ่านต่อผู้ทำบุญแล้ว ย่อมบันเทิงในโลกนี้ ละไปแล้วย่อมบันเทิง ฯลฯ
ผู้ทำบุญแล้ว ย่อมยินดีในโลกนี้ ละไปแล้วย่อมยินดี ชื่อว่าย่อมยินดีในโลกทั้งสอง เขาย่อมยินดีว่าเราทำบุญไว้แล้ว ไปสู่สุคติ ย่อมยินดียิ่งขึ้น

ผู้ทำบุญแล้ว ย่อมยินดีในโลกนี้ ละไปแล้วย่อมยินดี ฯลฯ

ผู้ทำบุญแล้ว ย่อมยินดีในโลกนี้ ละไปแล้วย่อมยินดี ชื่อว่าย่อมยินดีในโลกทั้งสอง เขาย่อมยินดีว่าเราทำบุญไว้แล้ว ไปสู่สุคติ ย่อมยินดียิ่งขึ้น
อ่านต่อผู้ทำบุญแล้ว ย่อมยินดีในโลกนี้ ละไปแล้วย่อมยินดี ฯลฯ
เมื่อก่อนประมาท ภายหลังไม่ประมาท เขาชื่อว่ายังโลกนี้ให้สว่าง เหมือนพระจันทร์พ้นจากเมฆหมอกฉะนั้น

เมื่อก่อนประมาท ภายหลังไม่ประมาท เขาชื่อว่ายังโลกนี้ให้สว่าง ฯลฯ

โย จ ปุพฺเพ ปมชฺชิตฺวา ปจฺฉา โส นปฺปมชฺชติ โสมํ โลกํ ปภาเสติ อพฺภา มุตฺโต ว จนฺทิมา. "เมื่อก่อนประมาท ภายหลังไม่ประมาท เขาชื่อว่ายังโลกนี้ให้สว่าง เหมือนพระจันทร์พ้นจากเมฆหมอกฉะนั้น." (องฺคุลิมาลเถร) ม.ม. 13/486.
อ่านต่อเมื่อก่อนประมาท ภายหลังไม่ประมาท เขาชื่อว่ายังโลกนี้ให้สว่าง ฯลฯ
คนทอดทิ้งกิจที่ควรทำ ไปทำกิจที่ไม่ควรทำ เมื่อเขาถือตัว มัวประมาท อาสวะย่อมเจริญ

คนทอดทิ้งกิจที่ควรทำ ไปทำกิจที่ไม่ควรทำ ฯลฯ

ยญฺหิ กิจฺจํ ตทปวิทฺธํ อกิจฺจํ ปน กยีรติ อุนฺนฬานํ ปมตฺตานํ เตสํ วฑฺฒนฺติ อาสวา. "คนทอดทิ้งกิจที่ควรทำ ไปทำกิจที่ไม่ควรทำ เมื่อเขาถือตัว มัวประมาท อาสวะย่อมเจริญ." (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/54.
อ่านต่อคนทอดทิ้งกิจที่ควรทำ ไปทำกิจที่ไม่ควรทำ ฯลฯ
หากกล่าวพุทธพจน์อันมีประโยชน์ได้มาก แต่เป็นคนประมาท ไม่ทำตามพุทธพจน์นั้น ก็ไม่มีส่วนแห่งสามัญผล เหมือนคนเลี้ยงโค คอยนับโคให้อื่นอื่นฉะนั้น

หากกล่าวพุทธพจน์อันมีประโยชน์ได้มาก แต่เป็นคนประมาท ฯลฯ

พหุมฺปิ เจ สหิตํ ภาสมาโน น ตกฺกโร โหติ นโร ปมตฺโต โคโปว คาโว คณยํ ปเรสํ น ภาควา สามญฺญสฺส โหติ. (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/17.
อ่านต่อหากกล่าวพุทธพจน์อันมีประโยชน์ได้มาก แต่เป็นคนประมาท ฯลฯ
บุคคลย่อมเข้าถึงความเป็นกษัตริย์ ด้วยพรหมจรรย์อย่างต่ำ ถึงความเป็นเทวดา ด้วยพรหมจรรย์อย่างกลาง ย่อมบริสุทธิ์ ด้วยพรหมจรรย์อย่างสูง

บุคคลย่อมเข้าถึงความเป็นกษัตริย์ ด้วยพรหมจรรย์อย่างต่ำ ฯลฯ

บุคคลย่อมเข้าถึงความเป็นกษัตริย์ ด้วยพรหมจรรย์อย่างต่ำ ถึงความเป็นเทวดา ด้วยพรหมจรรย์อย่างกลาง ย่อมบริสุทธิ์ ด้วยพรหมจรรย์อย่างสูง
อ่านต่อบุคคลย่อมเข้าถึงความเป็นกษัตริย์ ด้วยพรหมจรรย์อย่างต่ำ ฯลฯ
ไม่ควรเสพธรรมที่เลว ไม่ควรอยู่ด้วยความประมาท ไม่ควรเสพมิจฉาทิฏฐิ ไม่ควรเป็นคนรกโลก

ไม่ควรเสพธรรมที่เลว ไม่ควรอยู่ด้วยความประมาท ฯลฯ

ไม่ควรเสพธรรมที่เลว ไม่ควรอยู่ด้วยความประมาท ไม่ควรเสพมิจฉาทิฏฐิ ไม่ควรเป็นคนรกโลก
อ่านต่อไม่ควรเสพธรรมที่เลว ไม่ควรอยู่ด้วยความประมาท ฯลฯ
โสรัจจะ และอวิหิงสานั้น เป็นช้างเท้าหลัง สติและสัมปชัญญะนั้น เป็นช้างเท้าหน้า
พระนิพพานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว ไม่มีโศก ปราศจากธุลี เกษม เป็นที่ดับทุกข์ เป็นสุขดีหนอ

พระนิพพานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว ไม่มีโศก ฯลฯ

พระนิพพานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว ไม่มีโศก ปราศจากธุลี เกษม เป็นที่ดับทุกข์ เป็นสุขดีหนอ (หาริตเถร) ขุ.เถร. 26/309.
อ่านต่อพระนิพพานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว ไม่มีโศก ฯลฯ
ผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมัปปธาน มีสติปัฏฐานเป็นอารมณ์ ดารดาษไปด้วยดอกไม้คือวิมุตติ หาอาสวะมิได้ จักปรินิพพาน

ผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมัปปธาน มีสติปัฏฐานเป็นอารมณ์ ฯลฯ

ผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมัปปธาน มีสติปัฏฐานเป็นอารมณ์ ดารดาษไปด้วยดอกไม้คือวิมุตติ หาอาสวะมิได้ จักปรินิพพาน (เทวสภเถร) ขุ.เถร. 26/282.
อ่านต่อผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมัปปธาน มีสติปัฏฐานเป็นอารมณ์ ฯลฯ
สมณพราหมณ์บางเหล่ากล่าวธรรมของตนว่าบริบูรณ์ แต่กล่าวธรรมของผู้อื่นว่าเลว (บกพร่อง) เขาย่อมทะเลาะวิวาทกัน แม้ด้วยเหตุนี้ เพราะต่างก็กล่าวข้อสมมติของตน ๆ ว่าเป็นจริง

สมณพราหมณ์บางเหล่ากล่าวธรรมของตนว่าบริบูรณ์ แต่กล่าวธรรม ฯลฯ

สมณพราหมณ์บางเหล่ากล่าวธรรมของตนว่าบริบูรณ์ แต่กล่าวธรรมของผู้อื่นว่าเลว (บกพร่อง) เขาย่อมทะเลาะวิวาทกัน แม้ด้วยเหตุนี้ เพราะต่างก็กล่าวข้อสมมติของตน ๆ ว่าเป็นจริง
อ่านต่อสมณพราหมณ์บางเหล่ากล่าวธรรมของตนว่าบริบูรณ์ แต่กล่าวธรรม ฯลฯ
ผู้ใดละธรรมเป็นเหตุให้เนิ่นช้าได้แล้ว ยินดีในธรรมที่ไม่มีสิ่งทำให้เนิ่นช้า ผู้นั้นก็บรรลุพระนิพพานอันปราศจากโยคะ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า

ผู้ใดละธรรมเป็นเหตุให้เนิ่นช้าได้แล้ว ยินดีในธรรม ฯลฯ

ผู้ใดละธรรมเป็นเหตุให้เนิ่นช้าได้แล้ว ยินดีในธรรมที่ไม่มีสิ่งทำให้เนิ่นช้า ผู้นั้นก็บรรลุพระนิพพานอันปราศจากโยคะ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า
อ่านต่อผู้ใดละธรรมเป็นเหตุให้เนิ่นช้าได้แล้ว ยินดีในธรรม ฯลฯ
ผู้มีจิตสงบ มีปัญญาเครื่องรักษาตัว มีสติ เป็นผู้เพ่งพินิจ ไม่เยื่อใยในกาม ย่อมเห็นธรรมโดยชอบ

ผู้มีจิตสงบ มีปัญญาเครื่องรักษาตัว มีสติ เป็นผู้เพ่งพินิจ ฯลฯ

ผู้มีจิตสงบ มีปัญญาเครื่องรักษาตัว มีสติ เป็นผู้เพ่งพินิจ ไม่เยื่อใยในกาม ย่อมเห็นธรรมโดยชอบ (พุทฺธ) ขุ.อิติ. 25/260.
อ่านต่อผู้มีจิตสงบ มีปัญญาเครื่องรักษาตัว มีสติ เป็นผู้เพ่งพินิจ ฯลฯ
กระแสเหล่าใดมีอยู่ในโลก สติเป็นเครื่องกั้นกระแสเหล่านั้น เรากล่าวว่า สติเป็นเครื่องกั้นกระแส กระแสเหล่านั้นอันบุคคลปิดกั้นได้ด้วยปัญญา

กระแสเหล่าใดมีอยู่ในโลก สติเป็นเครื่องกั้นกระแสเหล่านั้น ฯลฯ

กระแสเหล่าใดมีอยู่ในโลก สติเป็นเครื่องกั้นกระแสเหล่านั้น เรากล่าวว่า สติเป็นเครื่องกั้นกระแส กระแสเหล่านั้นอันบุคคลปิดกั้นได้ด้วยปัญญา (พุทฺธ) ขุ.สุ. 25/530, ขุ.จู. 30/16,20.
อ่านต่อกระแสเหล่าใดมีอยู่ในโลก สติเป็นเครื่องกั้นกระแสเหล่านั้น ฯลฯ
สัจจะ ธรรมะ อหิงสา สัญญมะ และทมะ มีอยู่ในผู้ใด อารยชน ย่อมคบผู้นั้น นั่นเป็นธรรมอันไม่ตายในโลก

สัจจะ ธรรมะ อหิงสา สัญญมะ และทมะ มีอยู่ในผู้ใด ฯลฯ

สัจจะ ธรรมะ อหิงสา สัญญมะ และทมะ มีอยู่ในผู้ใด อารยชน ย่อมคบผู้นั้น นั่นเป็นธรรมอันไม่ตายในโลก (อุปสาฬฺหาโพธิสตฺต) ขุ.ชา.ทุก. 27/58.
อ่านต่อสัจจะ ธรรมะ อหิงสา สัญญมะ และทมะ มีอยู่ในผู้ใด ฯลฯ
นามและรูปย่อมดับไม่เหลือในที่ใด นามและรูปนี้ย่อมดับในที่นั้น เพราะวิญญาณดับ

นามและรูปย่อมดับไม่เหลือในที่ใด นามและรูปนี้ย่อมดับในที่นั้น ฯลฯ

นามและรูปย่อมดับไม่เหลือในที่ใด นามและรูปนี้ย่อมดับในที่นั้น เพราะวิญญาณดับ (พุทฺธ) ขุ.สุ. 25/531, ขุ.จู. 30/21.
อ่านต่อนามและรูปย่อมดับไม่เหลือในที่ใด นามและรูปนี้ย่อมดับในที่นั้น ฯลฯ
บรรดาทางทั้งหลาย ทางมีองค์ 8 ประเสริฐสุด บรรดาสัจจะทั้งหลาย บท 4 ประเสริฐสุด บรรดาธรรมทั้งหลาย วิราคธรรมประเสริฐสุด และบรรดาสัตว์ 2 เท้าทั้งหลาย พระพุทธเจ้าผู้มีจักษุประเสริฐสุด

บรรดาทางทั้งหลาย ทางมีองค์ 8 ประเสริฐสุด บรรดาสัจจะทั้งหลาย ฯลฯ

บรรดาทางทั้งหลาย ทางมีองค์ 8 ประเสริฐสุด บรรดาสัจจะทั้งหลาย บท 4 ประเสริฐสุด บรรดาธรรมทั้งหลาย วิราคธรรมประเสริฐสุด และบรรดาสัตว์ 2 เท้าทั้งหลาย พระพุทธเจ้าผู้มีจักษุประเสริฐสุด
อ่านต่อบรรดาทางทั้งหลาย ทางมีองค์ 8 ประเสริฐสุด บรรดาสัจจะทั้งหลาย ฯลฯ
พึงนั่งใกล้ผู้เป็นพหูสูต และไม่พึงทำสุตะให้เสื่อม สุตะนั้นเป็นรากแห่งพรหมจรรย์ เพราะฉะนั้น ควรเป็นผู้ทรงธรรม

พึงนั่งใกล้ผู้เป็นพหูสูต และไม่พึงทำสุตะให้เสื่อม สุตะนั้นเป็นราก ฯลฯ

พึงนั่งใกล้ผู้เป็นพหูสูต และไม่พึงทำสุตะให้เสื่อม สุตะนั้นเป็นรากแห่งพรหมจรรย์ เพราะฉะนั้น ควรเป็นผู้ทรงธรรม
อ่านต่อพึงนั่งใกล้ผู้เป็นพหูสูต และไม่พึงทำสุตะให้เสื่อม สุตะนั้นเป็นราก ฯลฯ