หัวข้อธรรม

หลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนา ที่พุทธศาสนิกชนควรรู้และทำความเข้าใจให้ถ่องแท้ เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้เกิดประโยชน์สูงสุด

สวรรค์ 6 ชั้น

สวรรค์ 6 ชั้น

สวรรค์ คือ ภพที่มีอารมณ์อันเลิศ โลกที่มีแต่ความสุข เทวโลก ภูมิอันเป็นที่อยู่ของเทวดา ในที่นี้หมายเฉพาะสวรรค์ชั้นกามาพจร คือ ชั้นที่ยังเกี่ยวข้องกับกาม ซึ่งเรียกเต็มว่า ฉกามาพจรสวรรค์ หรือ กามาวจรสวรรค์
อ่านต่อสวรรค์ 6 ชั้น
ภัพพตาธรรม 6 ประการ

ภัพพตาธรรม 6 ประการ

ภัพพตาธรรม คือ ธรรมอันทำให้เป็นผู้ควรที่จะบรรลุกุศลธรรมที่ยังไม่บรรลุ และทำกุศลธรรมที่บรรลุแล้วให้เจริญเพิ่มพูน คุณสมบัติที่ทำให้เป็นผู้ควร เหมาะ สามารถ หรือพร้อม ที่จะได้จะถึงสิ่งดีงามที่ยังไม่ได้ไม่ถึง และทำสิ่งดีงามที่ได้ที่ถึงแล้วให้เจริญเพิ่มพูน มี 6 ประการ
อ่านต่อภัพพตาธรรม 6 ประการ
ปิยรูปสาตรูป 10 หมวด หมวดละ 6

ปิยรูปสาตรูป 10 หมวด หมวดละ 6

ปิยรูปสาตรูป คือ สภาวะที่น่ารักน่าชื่นใจ หมายถึง สิ่งที่มีสภาวะน่ารักน่าชื่นใจ เป็นที่เกิดและเป็นที่ดับของตัณหา เป็นขบวนธรรมที่แสดงให้เห็นความเกิดและความดับแห่งตัณหา มีทั้งหมด 10 หมวด หมวดละ 6 อย่าง
อ่านต่อปิยรูปสาตรูป 10 หมวด หมวดละ 6
วิจาร 6 ประการ

วิจาร 6 ประการ

วิจาร แปลว่า ความไตร่ตรองหรือการคิดทบทวน หมายถึง ความไตร่ตรองในอารมณ์ที่ตรึก เป็นสภาวะที่เกิดต่อเนื่องจากวิตกคือความตรึก กล่าวคือ เมื่อเกิดวิตกคือความตรึกในอารมณ์ใด ๆ ด้วยอำนาจความทะยานอยากแล้ว ใจก็นำเอาอารมณ์นั้นมาไตร่ตรองตามแต่จะนึกไปต่าง ๆ นานา
อ่านต่อวิจาร 6 ประการ
วิตก 6 ประการ

วิตก 6 ประการ

วิตก แปลว่า ความตรึก เป็นสภาวะที่เกิดต่อเนื่องมาจากตัณหา คือ เมื่อเกิดตัณหาคือความทะยานอยากในอารมณ์ใดแล้ว จิตก็จะตรึกคือคิดคำนึงในอารมณ์นั้นด้วยอำนาจของความทะยานอยาก วิตกคือความตรึกนี้จำแนกเป็น 6 อย่าง
อ่านต่อวิตก 6 ประการ
ตัณหา 6 ประการ

ตัณหา 6 ประการ

ตัณหา แปลว่า ความอยาก หรือ ความทะยานอยาก คือ เมื่อจิตคิดปรุงแต่งให้เกิดความชอบ ความชัง ความพอใจ ความไม่พอใจ เป็นต้นแล้ว ก็จะเกิดตัณหาขึ้นมา เช่น อยากได้อารมณ์ที่ชอบใจ อยากจะพ้นไปจากอารมณ์ที่ไม่ชอบใจ เป็นต้น ตัณหาในหมวดนี้มี 6 ประการ
อ่านต่อตัณหา 6 ประการ
สัญเจตนา 6 ประการ

สัญเจตนา 6 ประการ

สัญเจตนา แปลว่า ความจงใจ ความตั้งใจ ความจำนง หรือความแสวงหาอารมณ์ หมายถึง ความคิดปรุงแต่งในรูปสัญญาเป็นต้น กล่าวคือ เมื่อสัญญาคือความหมายรู้เกิดขึ้นแล้ว ความคิดปรุงแต่งก็จะเกิดขึ้นตามมา สัญเจตนา แบ่งเป็น 6 ประการ ตามอารมณ์ที่รับเข้ามา
อ่านต่อสัญเจตนา 6 ประการ
สัญญา 6 ประการ

สัญญา 6 ประการ

สัญญา คือ ความกำหนดได้หมายรู้ ความจำได้ ความหมายรู้ได้ ความหมายรู้อารมณ์ หมายถึง การกำหนดรู้อาการของอารมณ์นั้น ๆ เช่น ทรวดทรง สันฐาน ตลอดถึงสมมติบัญญัติต่าง ๆ เช่น ขาว ดำ ดัง เบา เป็นต้น
อ่านต่อสัญญา 6 ประการ
จริต 6 ประการ

จริต 6 ประการ

จริต หรือ จริยา แปลว่า ความประพฤติ ได้แก่ ความประพฤติซึ่งหนักไปทางใดทางหนึ่งอันเป็นปกติประจำอยู่ในสันดานของมนุษย์ อุปนิสัยหรือบุคลิกลักษณะประจำตัวของแต่ละบุคคล มี 6 ประการ
อ่านต่อจริต 6 ประการ
อภิญญา 6 ประการ

อภิญญา 6 ประการ

อภิญญา แปลว่า ความรู้ที่ยิ่งยวด หรือ ความรู้พิเศษเฉพาะ เป็นคุณสมบัติพิเศษของพระอรหันต์ประเภทเจโตวิมุตติ คือผู้ที่เจริญสมถกรรมฐานจนได้ฌานสมาบัติ 8 ตามลำดับ แล้วจึงนำฌานนั้นมาเป็นบาทฐานในการเจริญวิปัสสนา จนสำเร็จอรหัตตผล
อ่านต่ออภิญญา 6 ประการ
วิญญาณ 6 ประการ

วิญญาณ 6 ประการ

วิญญาณ แปลว่า ความรู้แจ้ง หมายถึง ความรู้แจ้งอารมณ์อันได้แก่อายตนะภายนอก 6 ประการ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ คือเมื่ออายตนะภายในกับอายตนะภายนอกกระทบกัน ย่อมเกิดความรู้เฉพาะด้านขึ้นมา
อ่านต่อวิญญาณ 6 ประการ
อายตนะภายนอก 6 ประการ

อายตนะภายนอก 6 ประการ

อายตนะภายนอก คือ ที่เชื่อมต่อให้เกิดความรู้ แดนต่อความรู้ฝ่ายนอก หมายถึง สิ่งภายนอกที่สามารถรับรู้ได้โดยอาศัยอายตนะภายใน มี 6 อย่าง
อ่านต่ออายตนะภายนอก 6 ประการ
อายตนะภายใน 6 ประการ

อายตนะภายใน 6 ประการ

อายตนะภายใน คือ ที่เชื่อมต่อให้เกิดความรู้ แดนต่อความรู้ฝ่ายใน หมายถึง ทางเชื่อมต่อให้เกิดความรู้ที่มีอยู่ภายในตัวเรา ทำหน้าที่เชื่อมโยงกับอายตนะภายนอก อายตนะภายในนี้มี 6 อย่าง
อ่านต่ออายตนะภายใน 6 ประการ
สารณียธรรม 6 ประการ

สารณียธรรม 6 ประการ

สารณียธรรม หรือ สาราณียธรรม คือ ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกถึง ธรรมเป็นเหตุให้ระลึกถึงกัน หลักการอยู่ร่วมกันด้วยความสมัครสมานสามัคคี มี 6 ประการ
อ่านต่อสารณียธรรม 6 ประการ