จตุกกะ หมวดสี่

ธรรม 4 ประการ

ธรรม 4 ประการ

ธรรม ในที่นี้ หมายถึง ธรรมทั้งปวงบรรดามี จัดประเภทตามลักษณะความสัมพันธ์ที่มนุษย์พึงปฏิบัติหรือเกี่ยวข้องเป็น 4 จำพวก อันสอดคล้องกับหลักอริยสัจจ์ 4 และกิจในอริยสัจจ์ 4
อ่านต่อธรรม 4 ประการ
โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ

โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 3)

โสตาปัตติยังคะ แปลว่า องค์คุณเครื่องบรรลุโสดา องค์ประกอบของการบรรลุโสดา องค์คุณที่ทำให้ถึงกระแส หมายถึง คุณสมบัติที่ทำให้เข้าถึงความเป็นพระโสดาบัน หรือ คุณสัมบัติของพระโสดาบัน มี 4 ประการ
อ่านต่อโสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 3)
โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ

โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 2)

โสตาปัตติยังคะ แปลว่า องค์คุณเครื่องบรรลุโสดา องค์ประกอบของการบรรลุโสดา องค์คุณที่ทำให้ถึงกระแส หมายถึง คุณสมบัติที่ทำให้เข้าถึงความเป็นพระโสดาบัน หรือ คุณสัมบัติของพระโสดาบัน มี 4 ประการ
อ่านต่อโสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 2)
โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ

โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 1)

โสตาปัตติยังคะ แปลว่า องค์คุณเครื่องบรรลุโสดา องค์ประกอบของการบรรลุโสดา องค์คุณที่ทำให้ถึงกระแส หมายถึง คุณสมบัติที่ทำให้เข้าถึงความเป็นพระโสดาบัน มี 4 ประการ
อ่านต่อโสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 1)
สัมปทา 4 ประการ

สัมปทา 4 ประการ

สัมปทา แปลว่า ความถึงพร้อม หมายถึง ความพรั่งพร้อมสมบูรณ์แห่งองค์ประกอบต่าง ๆ ซึ่งทำให้ทานที่บริจาคแล้วเป็นทานอันยอดเยี่ยม มีผลมาก อาจเห็นผลทันตา เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า สัมปทาคุณ
อ่านต่อสัมปทา 4 ประการ
สังเวชนียสถาน 4 ประการ

สังเวชนียสถาน 4 ประการ

สังเวชนียสถาน คือ สถานที่เป็นที่ตั้งแห่งความสังเวช สถานที่เนื่องด้วยพุทธประวัติซึ่งพุทธศาสนิกชนควรไปดูเพื่อเป็นเครื่องเตือนใจให้เกิดความไม่ประมาท จะได้เร่งขวนขวายประกอบกุศลกรรม และสำหรับผู้ศรัทธาจะได้จาริกไปชม เพื่อเพิ่มพูนปสาทะ กระทำสักการะบูชา อันจะนำให้เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
อ่านต่อสังเวชนียสถาน 4 ประการ
ราชสังคหวัตถุ 4 ประการ

ราชสังคหวัตถุ 4 ประการ

ราชสังคหวัตถุ แปลว่า สังคหวัตถุของพระราชา สังคหวัตถุของผู้ครองแผ่นดิน หมายถึง ธรรมเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจประชาชน หลักการสงเคราะห์ประชาชนของนักปกครอง มี 4 ประการ
อ่านต่อราชสังคหวัตถุ 4 ประการ
สังขาร 4 ประการ

สังขาร 4 ประการ

สังขตสังขาร หมายถึง สังขารคือสังขตธรรม ได้แก่ สิ่งทั้งปวงที่เกิดจากปัจจัยปรุงแต่ง รูปธรรมก็ตาม นามธรรมก็ตาม ได้ในคำว่า อนิจฺจา วต สงฺขารา เป็นต้น
อ่านต่อสังขาร 4 ประการ
สัทธา (ศรัทธา) 4 ประการ

สัทธา (ศรัทธา) 4 ประการ

สัทธา หรือ ศรัทธา แปลว่า ความเชื่อ หมายถึง ความเชื่อที่ประกอบด้วยเหตุผล ความเชื่อที่ผ่านการใช้ปัญญาพิจารณาไตร่ตรองอย่างมีเหตุผลแล้วจึงตกลงใจเชื่อ
อ่านต่อสัทธา (ศรัทธา) 4 ประการ
พหุการธรรม 4 ประการ

พหุการธรรม 4 ประการ

พหุการธรรม คือ ธรรมมีอุปการะมาก เป็นเครื่องช่วยให้สามารถสร้างสมความดีอื่น ๆ ทุกอย่าง และช่วยให้ประสบ ความเจริญก้าวหน้าในชีวิต บรรลุความงอกงามไพบูลย์
อ่านต่อพหุการธรรม 4 ประการ
เทวทูต 4 ประการ

เทวทูต 4 ประการ

เทวทูต คือ ทูตแห่งเทวดา ทูตจากเทวดา ทูตที่เทวดาแสดงให้เห็น หมายถึง สิ่งที่เทวดาแสดงให้พระโพธิสัตว์ได้ทอดพระเนตรเห็น เพื่อให้พระองค์เกิดความสลดสังเวชและตัดสินพระทัยที่จะเสด็จออกผนวช
อ่านต่อเทวทูต 4 ประการ
วิปลาส 4 ประการ

วิปลาส 4 ประการ

วิปลาส หรือ วิปัลลาส คือ ความรู้เห็นคลาดเคลื่อน ความเข้าใจผิดเพี้ยนจากความเป็นจริง ได้แก่ รู้เห็นผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริงที่เป็นอยู่โดยธรรมชาติ วิปลาสนั้นมีอยู่ 3 ระดับ
อ่านต่อวิปลาส 4 ประการ
สมบัติ 4 ประการ

สมบัติ 4 ประการ

สมบัติ คือ ข้อดี ความเพียบพร้อม ความสมบูรณ์แห่งองค์ประกอบต่าง ๆ ซึ่งอำนวยแก่การให้ผลของกรรมดี และไม่เปิดช่องให้กรรมชั่วแสดงผล หรือส่วนประกอบอำนวย ช่วยเสริมกรรมดี มี 4 ประการ
อ่านต่อสมบัติ 4 ประการ
วิธีปฏิบัติต่อทุกข์และสุข 4 ประการ

วิธีปฏิบัติต่อทุกข์และสุข 4 ประการ

วิธีปฏิบัติต่อทุกข์และสุข คือ หลักการเพียรพยายามให้ได้ผลในการละทุกข์และลุถึงสุข การปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความทุกข์และความสุข ซึ่งเป็นไปตามหลักพระพุทธศาสนา
อ่านต่อวิธีปฏิบัติต่อทุกข์และสุข 4 ประการ
เทสนาวิธี 4 ประการ

เทสนาวิธี 4 ประการ

เทสนาวิธี หรือ ลีลาการสอน หรือ พุทธลีลาในการสอน การสอนของพระพุทธเจ้าแต่ละครั้ง แม้ที่เป็นเพียงธรรมีกถา หรือการสนทนาทั่วไป ซึ่งมิใช่คราวที่มีความมุ่งหมายเฉพาะพิเศษ ก็จะดำเนินไปอย่างสำเร็จผลดีโดยมีองค์ประกอบที่เป็นคุณลักษณะ 4 ประการ
อ่านต่อเทสนาวิธี 4 ประการ