อัตตวรรค หมวดตน

พุทธศาสนสุภาษิตหมวดตน เป็นหลักการที่สอนให้ผู้ศึกษาปฏิบัติตนตามหลักธรรมที่สำคัญของพุทธศาสนา ที่มุ่งเน้นการพัฒนาตัวเองให้มีความสง่างาม อ่อนโยน และมีสติปัญญา โดยเน้นการฝึกใจให้ในด้านคุณธรรมและจริยธรรม ช่วยให้ผู้ศึกษาสามารถพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น และปฏิบัติตนในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้อง

ผู้ใด มีความไร้ศีลธรรมครอบคลุม เหมือนย่านทรายคลุมไม้สาละ ผู้นั้น ชื่อว่าทำตนเหมือนถูกผู้ร้ายคุมตัว

ผู้ใด มีความไร้ศีลธรรมครอบคลุม เหมือนย่านทรายคลุมไม้สาละ ฯลฯ

ผู้ใด มีความไร้ศีลธรรมครอบคลุม เหมือนย่านทรายคลุมไม้สาละ ผู้นั้น ชื่อว่าทำตนเหมือนถูกผู้ร้ายคุมตัว (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/37.
อ่านต่อผู้ใด มีความไร้ศีลธรรมครอบคลุม เหมือนย่านทรายคลุมไม้สาละ ฯลฯ
สิ่งที่รัก (อื่น) เสมอด้วยตน ไม่มี, ทรัพย์ (อื่น) เสมอด้วยข้าวเปลือก ไม่มี, แสงสว่าง (อื่น) เสมอด้วยปัญญา ไม่มี, ฝนแลเป็นสระอย่างยิ่ง

สิ่งที่รัก (อื่น) เสมอด้วยตน ไม่มี ทรัพย์ (อื่น) เสมอด้วยข้าวเปลือก ไม่มี ฯลฯ

สิ่งที่รัก (อื่น) เสมอด้วยตน ไม่มี, ทรัพย์ (อื่น) เสมอด้วยข้าวเปลือก ไม่มี, แสงสว่าง (อื่น) เสมอด้วยปัญญา ไม่มี, ฝนแลเป็นสระอย่างยิ่ง.
อ่านต่อสิ่งที่รัก (อื่น) เสมอด้วยตน ไม่มี ทรัพย์ (อื่น) เสมอด้วยข้าวเปลือก ไม่มี ฯลฯ
ตนแล เป็นที่พึ่งแห่งตน คนอื่น ใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้ ก็บุคคลมีตนฝึกฝนดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งที่ได้ยาก

ตนแล เป็นที่พึ่งแห่งตน คนอื่น ใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้ ฯลฯ

ตนแล เป็นที่พึ่งแห่งตน คนอื่น ใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้ ก็บุคคลมีตนฝึกฝนดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งที่ได้ยาก. (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/26.
อ่านต่อตนแล เป็นที่พึ่งแห่งตน คนอื่น ใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้ ฯลฯ
บัณฑิตพึงตั้งตนไว้ในคุณธรรมอันสมควรก่อน สอนผู้อื่นภายหลังจึงไม่มัวหมอง

บัณฑิตพึงตั้งตนไว้ในคุณธรรมอันสมควรก่อน สอนผู้อื่นภายหลัง ฯลฯ

อตฺตานเมว ปฐมํ ปฏิรูเป นิเวสเย อถญฺญมนุสาเสยฺย น กิลิสฺเสยฺย ปณฺฑิโต. “บัณฑิต พึงตั้งตนไว้ในคุณธรรมอันสมควรก่อน สอนผู้อื่นภายหลังจึงไม่มัวหมอง” (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/36
อ่านต่อบัณฑิตพึงตั้งตนไว้ในคุณธรรมอันสมควรก่อน สอนผู้อื่นภายหลัง ฯลฯ
ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ได้ยินว่า ตนแลฝึกได้ยาก

ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ฯลฯ

ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ได้ยินว่า ตนแลฝึกได้ยาก (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/36.
อ่านต่อถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ฯลฯ
บุคคลไม่ควรพร่าประโยชน์ของตน เพราะประโยชน์ของผู้อื่นแม้มาก รู้จักประโยชน์ของตนแล้ว พึงขวนขวายในประโยชน์ของตน

บุคคลไม่ควรพร่าประโยชน์ของตน เพราะประโยชน์ของผู้อื่นแม้มาก ฯลฯ

บุคคล ไม่ควรพร่าประโยชน์ของตน เพราะประโยชน์ของผู้อื่นแม้มาก รู้จักประโยชน์ของตนแล้ว พึงขวนขวายในประโยชน์ของตน. (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/37.
อ่านต่อบุคคลไม่ควรพร่าประโยชน์ของตน เพราะประโยชน์ของผู้อื่นแม้มาก ฯลฯ
ยทตฺตครหี ตทกุพฺพมาโน “ติตนเองเพราะเหตุใด ไม่ควรทำเหตุนั้น”
อตฺตานญฺเจ ปิยํ ชญฺญา น นํ ปาเปน สํยุเช “ถ้ารู้ว่าตนเป็นที่รัก ก็ไม่ควรประกอบตนนั้นด้วยความชั่ว”

อตฺตานญฺเจ ปิยํ ชญฺญา น นํ ปาเปน สํยุเช

อตฺตานญฺเจ ปิยํ ชญฺญา น นํ ปาเปน สํยุเช. "ถ้ารู้ว่าตนเป็นที่รัก ก็ไม่ควรประกอบตนนั้นด้วยความชั่ว" (สํ.ส. 25/104)
อ่านต่ออตฺตานญฺเจ ปิยํ ชญฺญา น นํ ปาเปน สํยุเช
อตฺตานุรกฺขี ภว มา อฑยฺหิ “จงเป็นผู้ตามรักษาตนอย่าให้เดือดร้อน”
ทุคฺคา อุทฺธรถตฺตานํ ปงฺเก สนฺโน ว กุญฺชโร “จงถอนตนขึ้นจากหล่ม เหมือนช้างตกหล่มถอนตนขึ้นฉะนั้น”

ทุคฺคา อุทฺธรถตฺตานํ ปงฺเก สนฺโน ว กุญฺชโร

ทุคฺคา อุทฺธรถตฺตานํ ปงฺเก สนฺโน ว กุญฺชโร. "จงถอนตนขึ้นจากหล่ม เหมือนช้างตกหล่มถอนตนขึ้นฉะนั้น" (ขุ.ธ. 25/58)
อ่านต่อทุคฺคา อุทฺธรถตฺตานํ ปงฺเก สนฺโน ว กุญฺชโร