ปัญจกะ หมวดห้า

กิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ

กิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ

สมณะหรือพระภิกษุสามเณร จัดเป็นอุปริมทิศ คือ ทิศเบื้องบน ใน ทิศ 6 เพราะท่านเป็นผู้ที่สูงด้วยคุณธรรม สูงด้วยศีลาจารวัตร และเป็นผู้นำทางจิตใจ ฆราวาสทั้งหลายพึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 สถาน
อ่านต่อกิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ
สิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ

สิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ

ลูกจ้าง จัดเป็นเหฏฐิมทิศ หรือ ทิศเบื้องล่าง ในทิศ 6 เพราะเป็นผู้ที่คอยช่วยเหลือรับใช้นายจ้าง ช่วยทำงานต่าง ๆ และเป็นฐานกำลังให้แก่นายจ้าง การที่ผู้เป็นลูกจ้างจะสามารถดำรงชีพอยู่ได้ก็ต้องอาศัยนายจ้าง
อ่านต่อสิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ
สิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ

สิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ

ลูกจ้าง จัดเป็นเหฏฐิมทิศ หรือ ทิศเบื้องล่าง ในทิศ 6 เพราะเป็นผู้ที่คอยช่วยเหลือรับใช้นายจ้าง ช่วยทำงานต่าง ๆ และเป็นฐานกำลังให้แก่นายจ้าง การงานทั้งหลายของนายจ้างจะสำเร็จลุล่วงได้ต้องอาศัยลูกจ้าง ดังนั้น ลูกจ้างจึงมีความสำคัญต่อการประสบความสำเร็จของนายจ้าง
อ่านต่อสิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ
สิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ

สิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ

มิตรสหาย จัดเป็นอุตตรทิศ คือ ทิศเบื้องซ้าย ในทิศ 6 เพราะเป็นผู้ช่วยให้ข้ามพ้นอุปสรรคอันตราย และเป็นกำลังสนับสนุนให้บรรลุความสำเร็จ
อ่านต่อสิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ
แนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ

แนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ

มิตรสหาย จัดเป็นอุตตรทิศ คือ ทิศเบื้องซ้าย ในทิศ 6 เพราะเป็นผู้ช่วยให้ข้ามพ้นอุปสรรคอันตราย และเป็นกำลังสนับสนุนให้บรรลุความสำเร็จ
อ่านต่อแนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ
หน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ

หน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ

ภรรยา ได้ชื่อว่าเป็นปัจฉิมทิศ คือ ทิศเบื้องหลัง ในทิศ 6 เพราะเป็นผู้ติดตามคอยสนับสนุนสามีในการทำงานหาเลี้ยงครอบครัว สามีภรรยาต้องมีความรักความซื่อสัตย์ต่อกัน ชีวิตคู่จึงจะมีความสุข
อ่านต่อหน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ
หน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ

หน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ

ภรรยา ได้ชื่อว่าเป็นปัจฉิมทิศ คือ ทิศเบื้องหลัง ในทิศ 6 เพราะเป็นผู้ติดตามคอยสนับสนุนสามีในการทำงานหาเลี้ยงครอบครัว สามีภรรยาต้องมีความรักความซื่อสัตย์ต่อกัน ชีวิตคู่จึงจะมีความสุข
อ่านต่อหน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ
หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ

หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ

ครูอาจารย์ ได้ชื่อว่าเป็นทักขิณทิศ คือ ทิศเบื้องขวา ในทิศ 6 เพราะครูอาจารย์เป็นผู้ที่คอยประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้อันเปรียบเสมือนแขนข้างขวาที่ใช้สร้างความเจริญให้แก่ศิษย์
อ่านต่อหน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ
หน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ

หน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ

ครูอาจารย์ ได้ชื่อว่าเป็นทักขิณทิศ คือ ทิศเบื้องขวา ในทิศ 6 เพราะครูอาจารย์เป็นผู้ที่คอยประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้อันเปรียบเสมือนแขนข้างขวาที่ใช้สร้างความเจริญให้แก่ศิษย์
อ่านต่อหน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ
หน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ

หน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ

มารดาบิดา จัดเป็นปุรัตถิมทิศ คือ ทิศเบื้องหน้า ในหลักทิศ 6 เพราะเป็นผู้มีอุปการะแก่บุตรก่อนกว่าคนอื่นทั้งปวง มารดาบิดา จัดเป็นพรหมของลูก เพราะเป็นผู้ที่ประกอบด้วยพรหมวิหาร 4
อ่านต่อหน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ
หน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ

หน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ

มารดาบิดา จัดเป็นปุรัตถิมทิศ คือ ทิศเบื้องหน้า ในหลักทิศ 6 เพราะเป็นผู้มีอุปการะแก่บุตรก่อนกว่าคนอื่นทั้งปวง มารดาบิดาย่อมอนุเคราะห์บุตรธิดาด้วย 5 สถาน
อ่านต่อหน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ
อินทรีย์ 5 ประการ

อินทรีย์ 5 ประการ

อินทรีย์ ธรรมที่เป็นใหญ่ในกิจของตน คือ เป็นใหญ่ในการทำหน้าที่แต่ละอย่าง ๆ ของตน ได้แก่ เป็นเจ้าการในการครอบงำเสียซึ่งความไร้ศรัทธา ความเกียจคร้าน ความประมาท ความฟุ้งซ่าน และความหลงตามลำดับ มี 5 ประการ
อ่านต่ออินทรีย์ 5 ประการ
อาวาสิกธรรม 5 ประการ

อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 10)

อาวาสิกธรรม คือ ธรรมของภิกษุผู้อยู่ประจำวัด แปลถือความมาใช้ให้เหมาะกับปัจจุบันว่า คุณสมบัติของเจ้าอาวาส หมวดที่ 10 ประเภทมีความสุขความเจริญดุจได้รับเชิญขึ้นไปอยู่ในสวรรค์ อีกหมวดหนึ่ง มี 5 ประการ
อ่านต่ออาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 10)
อาวาสิกธรรม 5 ประการ

อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 9)

อาวาสิกธรรม คือ ธรรมของภิกษุผู้อยู่ประจำวัด แปลถือความมาใช้ให้เหมาะกับปัจจุบันว่า คุณสมบัติของเจ้าอาวาส หมวดที่ 9 ประเภทมีความสุขความเจริญดุจได้รับเชิญขึ้นไปอยู่ในสวรรค์ อีกหมวดหนึ่ง มี 5 ประการ
อ่านต่ออาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 9)
อาวาสิกธรรม 5 ประการ

อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 8)

อาวาสิกธรรม คือ ธรรมของภิกษุผู้อยู่ประจำวัด แปลถือความมาใช้ให้เหมาะกับปัจจุบันว่า คุณสมบัติของเจ้าอาวาส หมวดที่ 8 ประเภทมีความสุขความเจริญดุจได้รับเชิญขึ้นไปอยู่ในสวรรค์ อีกหมวดหนึ่ง มี 5 ประการ
อ่านต่ออาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 8)
อาวาสิกธรรม 5 ประการ

อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 7)

อาวาสิกธรรม คือ ธรรมของภิกษุผู้อยู่ประจำวัด แปลถือความมาใช้ให้เหมาะกับปัจจุบันว่า คุณสมบัติของเจ้าอาวาส หมวดที่ 7 ประเภทมีความสุขความเจริญดุจได้รับเชิญขึ้นไปอยู่ในสวรรค์ อีกหมวดหนึ่ง มี 5 ประการ
อ่านต่ออาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 7)
อาวาสิกธรรม 5 ประการ

อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 6)

อาวาสิกธรรม คือ ธรรมของภิกษุผู้อยู่ประจำวัด แปลถือความมาใช้ให้เหมาะกับปัจจุบันว่า คุณสมบัติของเจ้าอาวาส หมวดที่ 6 ประเภทมีความสุขความเจริญดุจได้รับเชิญขึ้นไปอยู่ในสวรรค์ มี 5 ประการ
อ่านต่ออาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 6)
อาวาสิกธรรม 5 ประการ

อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 5)

อาวาสิกธรรม คือ ธรรมของภิกษุผู้อยู่ประจำวัด แปลถือความมาใช้ให้เหมาะกับปัจจุบันว่า คุณสมบัติของเจ้าอาวาส หมวดที่ 5 ประเภทอนุเคราะห์คฤหัสถ์ มี 5 ประการ
อ่านต่ออาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 5)