ปัญจกะ หมวดห้า

อาวาสิกธรรม 5 ประการ

อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 4)

อาวาสิกธรรม คือ ธรรมของภิกษุผู้อยู่ประจำวัด แปลถือความมาใช้ให้เหมาะกับปัจจุบันว่า คุณสมบัติของเจ้าอาวาส หมวดที่ 4 ประเภทมีอุปการะมากแก่วัด มี 5 ประการ
อ่านต่ออาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 4)
อาวาสิกธรรม 5 ประการ

อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 3)

อาวาสิกธรรม คือ ธรรมของภิกษุผู้อยู่ประจำวัด แปลถือความมาใช้ให้เหมาะกับปัจจุบันว่า คุณสมบัติของเจ้าอาวาส หมวดที่ 3 ประเภทอาวาสโสภณคือทำวัดให้งาม มี 5 ประการ
อ่านต่ออาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 3)
อาวาสิกธรรม 5 ประการ

อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)

อาวาสิกธรรม คือ ธรรมของภิกษุผู้อยู่ประจำวัด แปลถือความมาใช้ให้เหมาะกับปัจจุบันว่า คุณสมบัติของเจ้าอาวาส หมวดที่ 2 ประเภทเป็นที่รักที่เคารพของสพรหมจารี คือ เพื่อนภิกษุสามเณรผู้ประพฤติพรหมจรรย์ร่วมกัน มี 5 ประการ
อ่านต่ออาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
อาวาสิกธรรม 5 ประการ

อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)

อาวาสิกธรรม คือ ธรรมของภิกษุผู้อยู่ประจำวัด แปลถือความมาใช้ให้เหมาะกับปัจจุบันว่า คุณสมบัติของเจ้าอาวาส หมวดที่ 1 ประเภทที่น่ายกย่อง หรือเป็นที่ชื่นชูเจริญใจ มี 5 ประการ
อ่านต่ออาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
อายุวัฒนธรรม 5 ประการ

อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)

อายุสสธรรม หรือ อายุวัฒนธรรม คือ ธรรมที่เกื้อกูลแก่อายุ หรือธรรมที่ส่งเสริมสุขภาพ ธรรมที่ช่วยให้อายุยืน เป็นหลักธรรมสำหรับยึดปฏิบัติเพื่อความมีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง มีโรคภัยไข้เจ็บน้อย และมีอายุยืนยาว มี 5 ประการ
อ่านต่ออายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
อายุวัฒนธรรม 5 ประการ

อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)

อายุสสธรรม หรือ อายุวัฒนธรรม คือ ธรรมที่เกื้อกูลแก่อายุ หรือธรรมที่ส่งเสริมสุขภาพ ธรรมที่ช่วยให้อายุยืน เป็นหลักธรรมสำหรับยึดปฏิบัติเพื่อความมีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง มีโรคภัยไข้เจ็บน้อย และมีอายุยืนยาว มี 5 ประการ
อ่านต่ออายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
อริยวัฑฒิ 5 ประการ

อริยวัฑฒิ 5 ประการ

อริยวัฑฒิ หรือ อารยวัฒิ แปลว่า ความเจริญอย่างประเสริฐ หรือ หลักความเจริญของอารยชน เป็นหลักธรรมที่นำไปสู่ความเจริญอันประเสริฐ หรือแสดงถึงความเจริญงอกงามอย่างอารยชน มี 5 ประการ
อ่านต่ออริยวัฑฒิ 5 ประการ
เบญจธรรม 5 ประการ

เบญจธรรม 5 ประการ

เบญจธรรม แปลว่า ธรรม 5 ประการ หมายถึง ธรรมอันดีงามห้าอย่าง หรือคุณธรรมห้าประการ เป็นหลักธรรมที่ใช้ร่วมกับเบญจศีล เป็นธรรมที่เกื้อกูลแก่การรักษาศีลห้า เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เบญจกัลยาณธรรม
อ่านต่อเบญจธรรม 5 ประการ
พละ 5 ของพระมหากษัตริย์

พละ 5 ของพระมหากษัตริย์

พละ 5 ของพระมหากษัตริย์ 1. พาหาพละ หรือ กายพละ กำลังแขน หรือ กำลังกาย 2. โภคพละ กำลังโภคสมบัติ 3. อมัจจพละ กำลังอำมาตย์ 4. อภิชัจจพละ กำลังความมีชาติสูง 5. ปัญญาพละ กำลังปัญญา
อ่านต่อพละ 5 ของพระมหากษัตริย์
นิโรธ 5 ประการ

นิโรธ 5 ประการ

นิโรธ 5 ประการ 1. วิกขัมภนนิโรธ ความดับด้วยการข่มไว้ 2. ตทังคนิโรธ ความดับด้วยองค์นั้น ๆ 3. สมุจเฉทนิโรธ ความดับกิเลสด้วยการตัดขาด 4. ปฏิปัสสัทธินิโรธ ความดับความสงบระงับ 5. นิสสรณนิโรธ ความดับด้วยการสลัดออก
อ่านต่อนิโรธ 5 ประการ
นิยาม 5 ประการ

นิยาม 5 ประการ

นิยาม 5 ประการ 1. อุตุนิยาม กฎธรรมชาติเกี่ยวกับอุณหภูมิ 2. พีชนิยาม กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการสืบพันธุ์ 3. จิตตนิยาม กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการทำงานของจิต 4. กรรมนิยาม กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการกระทำของมนุษย์ 5. ธรรมนิยาม กฎแห่งธรรม
อ่านต่อนิยาม 5 ประการ
สุทธาวาส 5 ชั้น

สุทธาวาส 5 ชั้น

สุทธาวาส 5 ชั้น 1. อวิหา ภูมิของพรหมผู้ไม่ยอมละที่อยู่ของตน 2. อตัปปา ภูมิของพรหมผู้ไม่มีความสะดุ้งหวาดกลัวต่ออะไร 3. สุทัสสา ภูมิของพรหมผู้มีร่างอันงดงาม 4. สุทัสสี ภูมิของพรหมผู้มีความงดงามยิ่งกว่าพรหมชั้นสุทัสสา 5. อกนิฏฐา ภูมิของพรหมผู้สูงสุด
อ่านต่อสุทธาวาส 5 ชั้น
สังวร 5 ประการ

สังวร 5 ประการ

สังวร 5 ประการ 1. สีลสังวร การสำรวมระวังด้วยศีล 2. สติสังวร การสำรวมระวังด้วยสติ 3. ญาณสังวร การสำรวมระวังด้วยญาณ 4. ขันติสังวร การสำรวมระวังด้วยความอดทน 5. วิริยสังวร การสำรวมระวังด้วยความเพียร
อ่านต่อสังวร 5 ประการ
วิมุตติ 5 ประการ

วิมุตติ 5 ประการ

วิมุตติ 5 ประการ 1. วิกขัมภนวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยการข่มไว้ 2. ตทังควิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยองค์นั้น ๆ 3. สมุจเฉทวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยการตัดขาด 4. ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยความสงบระงับ 5. นิสสรณวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยการสลัดออก
อ่านต่อวิมุตติ 5 ประการ
วิญญาณ 5 ประการ

วิญญาณ 5 ประการ

วิญญาณ 5 ประการ 1. จักขุวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางตา 2. โสตวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางหู 3. ฆานวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางจมูก 4. ชิวหาวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางลิ้น 5. กายวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางกาย
อ่านต่อวิญญาณ 5 ประการ