
พหูสูตมีองค์ 5 ประการ
องค์ประกอบหรือคุณสมบัติที่ทำให้ได้ชื่อว่าเป็นพหูสูต คือ ผู้ได้เรียนรู้มามาก มีความรู้มาก หรือ คงแก่เรียน มี 5 ประการ คือ
1. พหุสฺสุตา
พหุสฺสุตา แปลว่า ผู้ได้ฟังมามาก คือ ได้ศึกษาเล่าเรียนมามาก ได้สดับรับฟังไว้มาก ได้รับคำแนะนำจากบัณฑิตผู้รู้ทั้งหลายมามาก ได้รู้ได้เห็นมามาก มีประสบการณ์มาก สรุปว่าเป็นผู้มีความรู้มากนั่นเอง
2. ธตา
ธตา แปลว่า ทรงไว้ได้ หมายความว่า จำได้ดี คือ จับหลักหรือสาระได้ ทรงจำความไว้แม่นยำ นอกจากจะได้เรียนรู้มามากและได้ยินได้ฟังมามากแล้ว ยังต้องทรงจำไว้ได้ด้วย ไม่ใช่ว่าเรียนแล้วลืมไปเสียสิ้น เรียนรู้ของใหม่ไปเรื่อยก็ลืมของเก่าไปเรื่อย เช่นนี้ใช้ไม่ได้ เมื่อเรียนรู้แล้วต้องจำได้อย่างแม่นยำจึงจะใช้ประโยชน์ได้
3. วจสา ปริจิตา
วจสา ปริจิตา แปลว่า คล่องปาก คือ ท่องบ่นหรือใช้พูดอยู่เสมอจนแคล่วคล่องจัดเจน ได้แก่ การได้ทบทวนความรู้ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมาอยู่บ่อย ๆ หรือได้ใช้ความรู้นั้นอยู่บ่อย ๆ จนช่ำชองคล่องปาก สามารถพูดได้ถ่ายทอดได้ตลอดเวลาที่ต้องการ คือเมื่อมีผู้สอบถามข้อสงสัยในเรื่องนั้น ๆ ก็สามารถหยิบยกมาพูดอธิบายได้อย่างคล่องแคล่ว
4. มนสานุเปกฺขิตา
มนสานุเปกฺขิตา แปลว่า เพ่งขึ้นใจ คือ ใส่ใจนึกคิดพิจารณาจนเจนใจ นึกถึงครั้งใด ก็ปรากฏเนื้อ ได้แก่ การนำความรู้ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมา ได้ยินได้ฟังมานั้นมาขบคิดพิจารณาอยู่เสมอจนขึ้นใจ เมื่อนึกถึงครั้งใดเนื้อความของเรื่องนั้น ๆ ก็ปรากฏชัดเจน สามารถนำมาใช้ได้ตลอดเวลาที่ต้องการ
5. ทิฏฺฐิยา สุปฏิวิทฺธา
ทิฏฺฐิยา สุปฏิวิทฺธา แปลว่า ขบได้ด้วยทฤษฎี หรือแทงตลอดดีด้วยทิฏฐิ คือ มีความเข้าใจลึกซึ้ง มองเห็นประจักษ์แจ้งด้วยปัญญา ทั้งในแง่ความหมายและเหตุผล เข้าใจแจ่มแจ้งชัดเจนในเรื่องนั้น ๆ ทุกแง่ทุกมุม สามารถอธิบายขยายเนื้อความได้อย่างทะลุปรุโปร่งและแจ่มแจ้งชัดเจน
ผู้ประกอบด้วยคุณสมบัติทั้ง 5 ประการนี้ ย่อมได้ชื่อว่าเป็นพหูสูต
- อนันตริยกรรม 5 ประการ
- อภิณหปัจจเวกขณ์ 5 ประการ
- เวสารัชชกรณธรรม 5 ประการ
- องค์แห่งภิกษุใหม่ (นวกภิกขุธรรม) 5 ประการ
- องค์แห่งพระธรรมกถึก (ธรรมเทสกธรรม) 5 ประการ
- ธัมมัสสวนานิสงส์ 5 ประการ
- พละ 5 ประการ
- พละ 5 ของพระมหากษัตริย์
- นิวรณ์ 5 ประการ
- ขันธ์ 5 ประการ
- อนุปุพพิกถา 5 ประการ
- กามคุณ 5 ประการ
- ปีติ 5 ประการ
- จักขุ 5 ประการ
- ธรรมขันธ์ 5 ประการ
- มัจฉริยะ 5 ประการ
- วิญญาณ 5 ประการ
- มาร 5 ประการ
- วิมุตติ 5 ประการ
- เวทนา 5 ประการ
- สังวร 5 ประการ
- สุทธาวาส 5 ชั้น
- พระอนาคามี 5 ประเภท
- พระอรหันต์ 5 ประเภท
- อุบาสกธรรม 5 ประการ
- มิจฉาวณิชชา 5 ประการ
- ศีล 5 ประการ
- ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ
- พร 5 ประการ
- เทวทูต 5 ประการ
- ธรรมสมาธิ 5 ประการ
- นิยาม 5 ประการ
- หน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ
- หน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ
- หน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ
- หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ
- หน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ
- หน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ
- แนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ
- สิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ
- สิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ
- สิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ
- กิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ
- หน้าที่ของพระสงฆ์ที่พึงปฏิบัติต่อคฤหัสถ์ 6 ประการ
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 3)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 4)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 5)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 6)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 7)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 8)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 9)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 10)
- นิโรธ 5 ประการ
- พหูสูตมีองค์ 5 ประการ
- เบญจธรรม 5 ประการ
- อริยวัฑฒิ 5 ประการ
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อินทรีย์ 5 ประการ
- คารวตา 6 ประการ
- สารณียธรรม 6 ประการ
- ปิยรูปสาตรูป
- อายตนะภายใน 6 ประการ
- อายตนะภายนอก 6 ประการ
- วิญญาณ 6 ประการ
- สัมผัส 6 ประการ
- เวทนา 6 ประการ
- สัญญา 6 ประการ
- สัญเจตนา 6 ประการ
- ตัณหา 6 ประการ
- วิตก 6 ประการ
- วิจาร 6 ประการ
- อภิญญา 6 ประการ
- อภิฐาน 6 ประการ
- จริต 6 ประการ
- ธรรมคุณ 6 ประการ
- ภัพพตาธรรม 6 ประการ
- เวปุลลธรรม 6 ประการ
- สวรรค์ 6 ชั้น
- วัฒนมุข 6 ประการ
- อนุตตริยะ 6 ประการ
- ทวาร 6 ประการ
- อบายมุข 6 ประการ
- ธาตุ 6 ประการ
- ธาตุกัมมัฏฐาน 6 ประการ
- ทิศ 6 ประการ