
เวทนา 5 ประการ
เวทนา แปลว่า การเสวยอารมณ์ หมายถึง ความรู้สึกที่เกิดขึ้นหลังจากที่อายตนะภายในกระทบกับอายตนะภายนอก เช่น ตาเห็นรูป หูได้ยินเสียง เป็นต้น การเสวยอารมร์หรือความรู้สึกนั้นมี 5 ประการ คือ
1. สุข
สุข คือ ความสุข ความสบาย ที่เกิดขึ้นทางกาย เช่น ได้เห็นรูปที่สวยงามแล้วสบายตา ได้ยินเสียงเพลงที่ไพเราะเพราะพริ้งแล้วสบายหู ได้กินของอร่อย ๆ แล้วสบายท้อง ได้อาบน้ำชำระร่างกายแล้วรู้สึกสบายตัว เป็นต้น
2. ทุกข์
ทุกข์ คือ ความทุกข์ ความไม่สบาย ความเจ็บปวด ที่เกิดขึ้นทางกาย เช่น เห็นรูปที่น่าเกลียดน่ากลัวชวนให้ขยะแขยง ได้กลิ่นเหม็นจากของเน่าแล้วชวนให้คลื่นไส้อาเจียน ตากแดดมากเกินไปทำให้ร้อน หรือเกิดความเจ็บไข้ได้ป่วย ทำให้ร่างกายอ่อนเพลีย เป็นต้น
3. โสมนัส
โสมนัส คือ ความสุขทางใจ ความสบายใจ เกิดจากธัมมารมณ์ที่น่าใคร่น่าพอใจมากระทบใจ ทำให้เกิดความยินดี มีความสุขใจ สบายใจ แช่มชื่นใจ เช่น ได้เห็นคนที่รักแล้วมีความสุขใจ ได้ทำบุญทำทานแล้วมีความยินดีแช่มชื่นใจ เป็นต้น
4. โทมนัส
โทมนัส คือ ความทุกข์ทางใจ ความไม่สบายใจ เกิดจากธัมมารมณ์ที่ไม่น่าใคร่ไม่น่าพอใจมากระทบใจ ทำให้เกิดความยินร้าย ความทุกข์ใจ ความไม่พอใจ เช่น คิดถึงคนที่รักแต่ไม่มีโอกาสได้เจอกัน ทำให้เกิดความทุกข์ใจเศร้าใจ โดนเจ้านายตำหนิแล้วเกิดความเสียใจ เป็นต้น
5. อุเบกขา
อุเบกขา คือ ความรู้สึกเฉย ๆ ไม่สุขและก็ไม่ทุกข์ด้วยในขณะเดียวกัน เกิดจากการวางใจเป็นกลาง ๆ ไม่ยินดียินร้ายในธัมมารมณ์ต่าง ๆ ทั้งที่ดีและไม่ดี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อทุกขมสุขเวทนา คือ ความรู้สึกไม่สุขไม่ทุกข์
- อนันตริยกรรม 5 ประการ
- อภิณหปัจจเวกขณ์ 5 ประการ
- เวสารัชชกรณธรรม 5 ประการ
- องค์แห่งภิกษุใหม่ (นวกภิกขุธรรม) 5 ประการ
- องค์แห่งพระธรรมกถึก (ธรรมเทสกธรรม) 5 ประการ
- ธัมมัสสวนานิสงส์ 5 ประการ
- พละ 5 ประการ
- พละ 5 ของพระมหากษัตริย์
- นิวรณ์ 5 ประการ
- ขันธ์ 5 ประการ
- อนุปุพพิกถา 5 ประการ
- กามคุณ 5 ประการ
- ปีติ 5 ประการ
- จักขุ 5 ประการ
- ธรรมขันธ์ 5 ประการ
- มัจฉริยะ 5 ประการ
- วิญญาณ 5 ประการ
- มาร 5 ประการ
- วิมุตติ 5 ประการ
- เวทนา 5 ประการ
- สังวร 5 ประการ
- สุทธาวาส 5 ชั้น
- พระอนาคามี 5 ประเภท
- พระอรหันต์ 5 ประเภท
- อุบาสกธรรม 5 ประการ
- มิจฉาวณิชชา 5 ประการ
- ศีล 5 ประการ
- ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ
- พร 5 ประการ
- เทวทูต 5 ประการ
- ธรรมสมาธิ 5 ประการ
- นิยาม 5 ประการ
- หน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ
- หน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ
- หน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ
- หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ
- หน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ
- หน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ
- แนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ
- สิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ
- สิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ
- สิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ
- กิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ
- หน้าที่ของพระสงฆ์ที่พึงปฏิบัติต่อคฤหัสถ์ 6 ประการ
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 3)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 4)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 5)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 6)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 7)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 8)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 9)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 10)
- นิโรธ 5 ประการ
- พหูสูตมีองค์ 5 ประการ
- เบญจธรรม 5 ประการ
- อริยวัฑฒิ 5 ประการ
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อินทรีย์ 5 ประการ
- คารวตา 6 ประการ
- สารณียธรรม 6 ประการ
- ปิยรูปสาตรูป
- อายตนะภายใน 6 ประการ
- อายตนะภายนอก 6 ประการ
- วิญญาณ 6 ประการ
- สัมผัส 6 ประการ
- เวทนา 6 ประการ
- สัญญา 6 ประการ
- สัญเจตนา 6 ประการ
- ตัณหา 6 ประการ
- วิตก 6 ประการ
- วิจาร 6 ประการ
- อภิญญา 6 ประการ
- อภิฐาน 6 ประการ
- จริต 6 ประการ
- ธรรมคุณ 6 ประการ
- ภัพพตาธรรม 6 ประการ
- เวปุลลธรรม 6 ประการ
- สวรรค์ 6 ชั้น
- วัฒนมุข 6 ประการ
- อนุตตริยะ 6 ประการ
- ทวาร 6 ประการ
- อบายมุข 6 ประการ
- ธาตุ 6 ประการ
- ธาตุกัมมัฏฐาน 6 ประการ
- ทิศ 6 ประการ