
สิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ
มิตรสหาย จัดเป็นอุตตรทิศ คือ ทิศเบื้องซ้าย ในทิศ 6 เพราะเป็นผู้ช่วยให้ข้ามพ้นอุปสรรคอันตราย และเป็นกำลังสนับสนุนให้บรรลุความสำเร็จ
สิ่งที่ผู้เป็นมิตรสหายหรือเป็นเพื่อนกันพึงปฏิบัติต่อกัน มี 5 ประการ คือ
1. เมื่อเพื่อนประมาท ช่วยรักษาป้องกัน
เพื่อนต้องคอยช่วยเหลือเพื่อนในทุก ๆ โอกาส โดยเฉพาะในยามที่เพื่อนประมาท ต้องคอยช่วยป้องกันรักษาเพื่อน อย่าให้เพื่อนได้รับอันตราย
2. เมื่อเพื่อนประมาท ช่วยรักษาทรัพย์สมบัติของเพื่อน
นอกจากจะช่วยป้องกันรักษาเพื่อนไม่ให้ได้รับอันตรายแล้ว ยังต้องคอยรักษาทรัพย์สินของเพื่อนด้วย อย่าให้ทรัพย์สินของเพื่อนได้รับความเสียหายหรือสูญหาย
3. ในคราวมีภัย เป็นที่พึ่งได้
ในคราวที่เพื่อนมีภัยมาถึงตัว คนเป็นเพื่อนกันต้องสามารถเป็นที่พึ่งได้ คือให้เพื่อนพึ่งพาอาศัยได้ ช่วยหาทางออก ช่วยหาทางแก้ไขให้ดีขึ้น
4. ไม่ละทิ้งในยามทุกข์ยาก
ถึงคราวที่เพื่อนตกทุกข์ได้ยาก เพื่อนต้องไม่ทอดทิ้งกัน ไม่ใช่ว่ารู้รักษาตัวรอดเป็นยอดดี แต่ต้องร่วมสุขร่วมทุกข์กับเพื่อน ไม่ทอดทิ้งในยามยาก
5. นับถือตลอดถึงวงศ์ญาติของมิตร
ให้ถือว่าวงศาคณาญาติของเพื่อนก็คือวงศาคณาญาติของตนเอง ให้เกียรติและเคารพญาติ ๆ ของเพื่อนเหมือนกับญาติของตนเอง
- อนันตริยกรรม 5 ประการ
- อภิณหปัจจเวกขณ์ 5 ประการ
- เวสารัชชกรณธรรม 5 ประการ
- องค์แห่งภิกษุใหม่ (นวกภิกขุธรรม) 5 ประการ
- องค์แห่งพระธรรมกถึก (ธรรมเทสกธรรม) 5 ประการ
- ธัมมัสสวนานิสงส์ 5 ประการ
- พละ 5 ประการ
- พละ 5 ของพระมหากษัตริย์
- นิวรณ์ 5 ประการ
- ขันธ์ 5 ประการ
- อนุปุพพิกถา 5 ประการ
- กามคุณ 5 ประการ
- ปีติ 5 ประการ
- จักขุ 5 ประการ
- ธรรมขันธ์ 5 ประการ
- มัจฉริยะ 5 ประการ
- วิญญาณ 5 ประการ
- มาร 5 ประการ
- วิมุตติ 5 ประการ
- เวทนา 5 ประการ
- สังวร 5 ประการ
- สุทธาวาส 5 ชั้น
- พระอนาคามี 5 ประเภท
- พระอรหันต์ 5 ประเภท
- อุบาสกธรรม 5 ประการ
- มิจฉาวณิชชา 5 ประการ
- ศีล 5 ประการ
- ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ
- พร 5 ประการ
- เทวทูต 5 ประการ
- ธรรมสมาธิ 5 ประการ
- นิยาม 5 ประการ
- หน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ
- หน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ
- หน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ
- หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ
- หน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ
- หน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ
- แนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ
- สิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ
- สิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ
- สิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ
- กิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ
- หน้าที่ของพระสงฆ์ที่พึงปฏิบัติต่อคฤหัสถ์ 6 ประการ
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 3)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 4)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 5)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 6)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 7)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 8)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 9)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 10)
- นิโรธ 5 ประการ
- พหูสูตมีองค์ 5 ประการ
- เบญจธรรม 5 ประการ
- อริยวัฑฒิ 5 ประการ
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อินทรีย์ 5 ประการ
- คารวตา 6 ประการ
- สารณียธรรม 6 ประการ
- ปิยรูปสาตรูป
- อายตนะภายใน 6 ประการ
- อายตนะภายนอก 6 ประการ
- วิญญาณ 6 ประการ
- สัมผัส 6 ประการ
- เวทนา 6 ประการ
- สัญญา 6 ประการ
- สัญเจตนา 6 ประการ
- ตัณหา 6 ประการ
- วิตก 6 ประการ
- วิจาร 6 ประการ
- อภิญญา 6 ประการ
- อภิฐาน 6 ประการ
- จริต 6 ประการ
- ธรรมคุณ 6 ประการ
- ภัพพตาธรรม 6 ประการ
- เวปุลลธรรม 6 ประการ
- สวรรค์ 6 ชั้น
- วัฒนมุข 6 ประการ
- อนุตตริยะ 6 ประการ
- ทวาร 6 ประการ
- อบายมุข 6 ประการ
- ธาตุ 6 ประการ
- ธาตุกัมมัฏฐาน 6 ประการ
- ทิศ 6 ประการ