
แนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ
มิตรสหาย จัดเป็นอุตตรทิศ คือ ทิศเบื้องซ้าย ในทิศ 6 เพราะเป็นผู้ช่วยให้ข้ามพ้นอุปสรรคอันตราย และเป็นกำลังสนับสนุนให้บรรลุความสำเร็จ
หลักการผูกมิตรและถนอมน้ำใจมิตร มี 5 ประการ คือ
1. ด้วยการให้ปัน
การมีน้ำใจเผื่อแผ่แบ่งปันเป็นสิ่งที่ดีงาม เมื่อมีมิตรสหาย ก็ควรเผื่อแผ่แบ่งปันกัน มีข้าวปลาอาหารก็แบ่งปันกันกิน ไปที่ไกลกลับมาก็มีของฝากติดไม้ติดมือมาให้ เช่นนี้ ย่อมทำให้มิตรภาพยืนยาวได้
2. เจรจาด้วยคำอันไพเราะ
คำพูดใดที่พูดไปแล้วจะเป็นการทำลายมิตรภาพระหว่างกันก็ไม่ควรพูด ส่วนคำพูดใดเมื่อพูดไปแล้วจะทำให้เกิดความรักสมัครสมาน รักษาน้ำใจถนอมน้ำใจกัน ก็ควรพูดคำนั้น
3. ทำสิ่งที่เป็นประโยชน์ให้แก่มิตร
คนที่เป็นมิตรสหายกัน ควรทำสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่กัน ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน สิ่งใดไม่เป็นประโยชน์ไม่ควรทำ และไม่ควรชักชวนกันทำ ควรแนะทางธรรม นำทางถูก ปลูกสำนึกที่ดีให้แก่กัน จึงจะเป็นประโยชน์
4. มีตนเสมอ
มีสุขร่วมเสพ มีทุกข์ร่วมต้าน ก้าวผ่านปัญหาอุปสรรคไปด้วยกัน คราวที่สหายมีทุกข์หรือปัญหาใด ๆ ก็ร่วมด้วยช่วยแก้ไขไม่ทอดทิ้ง คราวที่สหายมีความสุขก็ร่วมยินดี ไม่อิจฉาริษยา
5. ไม่แกล้งกล่าวให้คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง
มีความซื่อสัตย์จริงใจต่อกัน ไม่โกหกไม่หลอกลวงกัน ทำตัวให้เป็นที่ไว้เนื้อเชื่อใจของมิตรสหายได้ มิตรภาพจึงจะยืนยาว
- อนันตริยกรรม 5 ประการ
- อภิณหปัจจเวกขณ์ 5 ประการ
- เวสารัชชกรณธรรม 5 ประการ
- องค์แห่งภิกษุใหม่ (นวกภิกขุธรรม) 5 ประการ
- องค์แห่งพระธรรมกถึก (ธรรมเทสกธรรม) 5 ประการ
- ธัมมัสสวนานิสงส์ 5 ประการ
- พละ 5 ประการ
- พละ 5 ของพระมหากษัตริย์
- นิวรณ์ 5 ประการ
- ขันธ์ 5 ประการ
- อนุปุพพิกถา 5 ประการ
- กามคุณ 5 ประการ
- ปีติ 5 ประการ
- จักขุ 5 ประการ
- ธรรมขันธ์ 5 ประการ
- มัจฉริยะ 5 ประการ
- วิญญาณ 5 ประการ
- มาร 5 ประการ
- วิมุตติ 5 ประการ
- เวทนา 5 ประการ
- สังวร 5 ประการ
- สุทธาวาส 5 ชั้น
- พระอนาคามี 5 ประเภท
- พระอรหันต์ 5 ประเภท
- อุบาสกธรรม 5 ประการ
- มิจฉาวณิชชา 5 ประการ
- ศีล 5 ประการ
- ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ
- พร 5 ประการ
- เทวทูต 5 ประการ
- ธรรมสมาธิ 5 ประการ
- นิยาม 5 ประการ
- หน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ
- หน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ
- หน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ
- หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ
- หน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ
- หน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ
- แนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ
- สิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ
- สิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ
- สิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ
- กิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ
- หน้าที่ของพระสงฆ์ที่พึงปฏิบัติต่อคฤหัสถ์ 6 ประการ
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 3)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 4)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 5)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 6)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 7)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 8)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 9)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 10)
- นิโรธ 5 ประการ
- พหูสูตมีองค์ 5 ประการ
- เบญจธรรม 5 ประการ
- อริยวัฑฒิ 5 ประการ
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อินทรีย์ 5 ประการ
- คารวตา 6 ประการ
- สารณียธรรม 6 ประการ
- ปิยรูปสาตรูป
- อายตนะภายใน 6 ประการ
- อายตนะภายนอก 6 ประการ
- วิญญาณ 6 ประการ
- สัมผัส 6 ประการ
- เวทนา 6 ประการ
- สัญญา 6 ประการ
- สัญเจตนา 6 ประการ
- ตัณหา 6 ประการ
- วิตก 6 ประการ
- วิจาร 6 ประการ
- อภิญญา 6 ประการ
- อภิฐาน 6 ประการ
- จริต 6 ประการ
- ธรรมคุณ 6 ประการ
- ภัพพตาธรรม 6 ประการ
- เวปุลลธรรม 6 ประการ
- สวรรค์ 6 ชั้น
- วัฒนมุข 6 ประการ
- อนุตตริยะ 6 ประการ
- ทวาร 6 ประการ
- อบายมุข 6 ประการ
- ธาตุ 6 ประการ
- ธาตุกัมมัฏฐาน 6 ประการ
- ทิศ 6 ประการ