คิหิปฏิบัติ

หน้าที่ของพระสงฆ์ที่พึงปฏิบัติต่อคฤหัสถ์ 6 ประการ

หน้าที่ของพระสงฆ์ที่พึงปฏิบัติต่อคฤหัสถ์ 6 ประการ

พระสงฆ์ จัดเป็นอุปริมทิศ คือ ทิศเบื้องบน ใน ทิศ 6 เพราะเป็นผู้ที่สูงด้วยคุณธรรม สูงด้วยศีลาจารวัตร และเป็นผู้นำทางจิตใจ ดังนั้น พระสงฆ์จึงได้รับความเคารพนับถือและกราบไหว้บูชาจากคฤหัสถ์ทั้งหลาย
อ่านต่อหน้าที่ของพระสงฆ์ที่พึงปฏิบัติต่อคฤหัสถ์ 6 ประการ
กิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ

กิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ

สมณะหรือพระภิกษุสามเณร จัดเป็นอุปริมทิศ คือ ทิศเบื้องบน ใน ทิศ 6 เพราะท่านเป็นผู้ที่สูงด้วยคุณธรรม สูงด้วยศีลาจารวัตร และเป็นผู้นำทางจิตใจ ฆราวาสทั้งหลายพึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 สถาน
อ่านต่อกิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ
สิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ

สิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ

ลูกจ้าง จัดเป็นเหฏฐิมทิศ หรือ ทิศเบื้องล่าง ในทิศ 6 เพราะเป็นผู้ที่คอยช่วยเหลือรับใช้นายจ้าง ช่วยทำงานต่าง ๆ และเป็นฐานกำลังให้แก่นายจ้าง การที่ผู้เป็นลูกจ้างจะสามารถดำรงชีพอยู่ได้ก็ต้องอาศัยนายจ้าง
อ่านต่อสิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ
สิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ

สิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ

ลูกจ้าง จัดเป็นเหฏฐิมทิศ หรือ ทิศเบื้องล่าง ในทิศ 6 เพราะเป็นผู้ที่คอยช่วยเหลือรับใช้นายจ้าง ช่วยทำงานต่าง ๆ และเป็นฐานกำลังให้แก่นายจ้าง การงานทั้งหลายของนายจ้างจะสำเร็จลุล่วงได้ต้องอาศัยลูกจ้าง ดังนั้น ลูกจ้างจึงมีความสำคัญต่อการประสบความสำเร็จของนายจ้าง
อ่านต่อสิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ
สิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ

สิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ

มิตรสหาย จัดเป็นอุตตรทิศ คือ ทิศเบื้องซ้าย ในทิศ 6 เพราะเป็นผู้ช่วยให้ข้ามพ้นอุปสรรคอันตราย และเป็นกำลังสนับสนุนให้บรรลุความสำเร็จ
อ่านต่อสิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ
แนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ

แนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ

มิตรสหาย จัดเป็นอุตตรทิศ คือ ทิศเบื้องซ้าย ในทิศ 6 เพราะเป็นผู้ช่วยให้ข้ามพ้นอุปสรรคอันตราย และเป็นกำลังสนับสนุนให้บรรลุความสำเร็จ
อ่านต่อแนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ
หน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ

หน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ

ภรรยา ได้ชื่อว่าเป็นปัจฉิมทิศ คือ ทิศเบื้องหลัง ในทิศ 6 เพราะเป็นผู้ติดตามคอยสนับสนุนสามีในการทำงานหาเลี้ยงครอบครัว สามีภรรยาต้องมีความรักความซื่อสัตย์ต่อกัน ชีวิตคู่จึงจะมีความสุข
อ่านต่อหน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ
หน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ

หน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ

ภรรยา ได้ชื่อว่าเป็นปัจฉิมทิศ คือ ทิศเบื้องหลัง ในทิศ 6 เพราะเป็นผู้ติดตามคอยสนับสนุนสามีในการทำงานหาเลี้ยงครอบครัว สามีภรรยาต้องมีความรักความซื่อสัตย์ต่อกัน ชีวิตคู่จึงจะมีความสุข
อ่านต่อหน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ
หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ

หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ

ครูอาจารย์ ได้ชื่อว่าเป็นทักขิณทิศ คือ ทิศเบื้องขวา ในทิศ 6 เพราะครูอาจารย์เป็นผู้ที่คอยประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้อันเปรียบเสมือนแขนข้างขวาที่ใช้สร้างความเจริญให้แก่ศิษย์
อ่านต่อหน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ
หน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ

หน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ

ครูอาจารย์ ได้ชื่อว่าเป็นทักขิณทิศ คือ ทิศเบื้องขวา ในทิศ 6 เพราะครูอาจารย์เป็นผู้ที่คอยประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้อันเปรียบเสมือนแขนข้างขวาที่ใช้สร้างความเจริญให้แก่ศิษย์
อ่านต่อหน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ
หน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ

หน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ

มารดาบิดา จัดเป็นปุรัตถิมทิศ คือ ทิศเบื้องหน้า ในหลักทิศ 6 เพราะเป็นผู้มีอุปการะแก่บุตรก่อนกว่าคนอื่นทั้งปวง มารดาบิดา จัดเป็นพรหมของลูก เพราะเป็นผู้ที่ประกอบด้วยพรหมวิหาร 4
อ่านต่อหน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ
หน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ

หน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ

มารดาบิดา จัดเป็นปุรัตถิมทิศ คือ ทิศเบื้องหน้า ในหลักทิศ 6 เพราะเป็นผู้มีอุปการะแก่บุตรก่อนกว่าคนอื่นทั้งปวง มารดาบิดาย่อมอนุเคราะห์บุตรธิดาด้วย 5 สถาน
อ่านต่อหน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ
ทิศ 6 ประการ

ทิศ 6 ประการ

ทิศ ในที่นี้ไม่ได้หมายถึงทิศโดยทั่วไปมีทิศเหนือเป็นต้น แต่หมายถึงบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกับตัวเราโดยฐานะและหน้าที่ 6 ประเภท พระพุทธเจ้าทรงนำบุคคลเหล่านั้นมาเปรียบเทียบกับทิศทั้ง 6 และแสดงหลักการปฏิบัติต่อบุคคลเหล่านั้นไว้
อ่านต่อทิศ 6 ประการ
อุบาสกธรรม 7 ประการ

อุบาสกธรรม 7 ประการ

อุบาสกธรรม หมายถึง ธรรมะของอุบาสก หรือคุณสมบัติของอุบาสก ธรรมที่เป็นไปเพื่อความเจริญของอุบาสก ซึ่งหมายถึงผู้ใกล้ชิดพระรัตนตรัย ได้แก่ผู้รับเอาพระรัตนตรัยเป็นสรณะ ไม่มีสรณะอื่นยิ่งกว่า ถ้าเป็นสตรีเรียกว่า อุบาสิกา คุณสมบัติของอุบาสกนั้นมี 7 ประการ
อ่านต่ออุบาสกธรรม 7 ประการ
อุบาสกธรรม 5 ประการ

อุบาสกธรรม 5 ประการ

อุบาสกธรรม 5 ประการ 1. ประกอบด้วยศรัทธา 2. รักษาศีลบริสุทธิ์ 3. ไม่ถือมงคลตื่นข่าว คือเชื่อกรรม ไม่เชื่อมงคล 4. ไม่แสวงหาเขตบุญนอกพระพุทธศาสนา 5. บำเพ็ญบุญเฉพาะในพระพุทธศาสนา
อ่านต่ออุบาสกธรรม 5 ประการ
มิจฉาวณิชชา 5 ประการ

มิจฉาวณิชชา 5 ประการ

มิจฉาวณิชชา 5 ประการ 1. สัตถวณิชชา การค้าขายอาวุธ 2. สัตตวณิชชา การค้าขายมนุษย์ 3. มังสวณิชชา การค้าขายสัตว์ 4. มัชชวณิชชา การค้าขายน้ำเมา 5. วิสวณิชชา การค้าขายยาพิษ
อ่านต่อมิจฉาวณิชชา 5 ประการ
ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ

ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ

ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ 1. เลี้ยงตัวเอง มารดาบิดา บุตรภรรยา และคนในปกครอง ให้เป็นสุข 2. บำรุงมิตรสหายและผู้ร่วมกิจการงานให้เป็นสุข 3. บำบัดอันตรายที่เกิดแต่เหตุต่างๆ 4. ทำพลี 5 อย่าง 5. อุปถัมภ์บำรุงสมณพราหมณ์ผู้ประพฤติดีปฏิบัติชอบ
อ่านต่อประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ
ฆราวาสธรรม 4 ประการ

ฆราวาสธรรม 4 ประการ

ฆราวาสธรรม แปลว่า หลักธรรมสำหรับฆราวาส ธรรมะสำหรับผู้ครองเรือน หมายถึง หลักการครองชีวิตของคฤหัสถ์ ธรรมะอันเป็นข้อปฏิบัติในการใช้ชีวิตของผู้ครองเรือน เพื่อให้เกิดความสุขความเจริญแก่ภาวะของตน มี 4 ประการ
อ่านต่อฆราวาสธรรม 4 ประการ