
หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ
ครูอาจารย์ ได้ชื่อว่าเป็นทักขิณทิศ คือ ทิศเบื้องขวา ในทิศ 6 เพราะครูอาจารย์เป็นผู้ที่คอยประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้อันเปรียบเสมือนแขนข้างขวาที่ใช้สร้างความเจริญให้แก่ศิษย์ ตลอดถึงอบรมคุณธรรมจริยธรรมให้ศิษย์ ทำให้ศิษย์มีวิชาความรู้สำหรับประกอบสัมมาชีพเลี้ยงตนเอง และมีคุณธรรมจริยธรรมเป็นหลักในการดำรงชีวิต
หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ มีดังนี้
1. แนะนำดี
ครูอาจารย์พึงแนะนำสิ่งที่ดีมีประโยชน์ให้แก่ศิษย์ อบรมสั่งสอนให้ศิษย์เป็นคนดีของสังคม สิ่งใดไม่ควรทำก็พึงห้าม สิ่งใดควรทำก็พึงแนะนำให้ทำ ให้ศิษย์เป็นคนดีมีคุณค่า เป็นประชาชนที่ดีของประเทศชาติต่อไป
2. ให้เรียนดี
ครูอาจารย์พึงถ่ายทอดวิชาความรู้ให้ศิษย์เข้าใจได้อย่างแจ่มแจ้ง แสวงหาเทคนิคในการสอนที่ทันสมัย หาเครื่องมือหรือสื่อประกอบการสอนที่ดีมีประสิทธิภาพมาใช้ประกอบการสอนเพื่อให้เกิดสัมฤทธิผลที่สุด ให้ศิษย์เข้าใจเนื้อหาและจุดมุ่งหมายของสิ่งที่สอนได้ดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
3. บอกศิลปวิทยาให้สิ้นเชิง
ครูอาจารย์พึงถ่ายทอดวิชาความรู้แก่ศิษย์อย่างสิ้นเชิง คือสอนทุกอย่างเกี่ยวกับศิลปวิทยาหรือวิชานั้น ๆ อย่างไม่ปิดบังอำพราง ไม่ต้องหวงความรู้
4. ยกย่องให้ปรากฏในเพื่อนฝูง
ครูอาจารย์พึงกล่าวยกย่องความดีของศิษย์ให้ปรากฏในหมู่คณะ ศิษย์คนใดมีความดีด้านใด เก่งด้านใด เด่นด้านใด พึงกล่าวยกย่องให้เป็นที่ปรากฏ เพื่อเป็นการสร้างกำลังใจให้ศิษย์มีความมุมานะในการศึกษาเล่าเรียน มีความตั้งใจในการพัฒนาตนเอง และมีกำลังใจในการสร้างคุณงามความดีต่อไป
5. ทำความป้องกันในทิศทั้งหลาย
ครูอาจารย์พึงสอนให้ศิษย์รู้จักวิธีเอาตัวรอดในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างดี ให้ศิษย์สามารถดำรงชีวิตได้ด้วยดีในสังคม รับรองความรู้ความประพฤติให้เป็นที่ยอมรับในการไปประกอบอาชีพ สิ่งใดที่พอช่วยเหลือศิษย์ได้ในทางที่ถูกที่ควรก็พึงช่วยเหลืออย่างเต็มที่
- อนันตริยกรรม 5 ประการ
- อภิณหปัจจเวกขณ์ 5 ประการ
- เวสารัชชกรณธรรม 5 ประการ
- องค์แห่งภิกษุใหม่ (นวกภิกขุธรรม) 5 ประการ
- องค์แห่งพระธรรมกถึก (ธรรมเทสกธรรม) 5 ประการ
- ธัมมัสสวนานิสงส์ 5 ประการ
- พละ 5 ประการ
- พละ 5 ของพระมหากษัตริย์
- นิวรณ์ 5 ประการ
- ขันธ์ 5 ประการ
- อนุปุพพิกถา 5 ประการ
- กามคุณ 5 ประการ
- ปีติ 5 ประการ
- จักขุ 5 ประการ
- ธรรมขันธ์ 5 ประการ
- มัจฉริยะ 5 ประการ
- วิญญาณ 5 ประการ
- มาร 5 ประการ
- วิมุตติ 5 ประการ
- เวทนา 5 ประการ
- สังวร 5 ประการ
- สุทธาวาส 5 ชั้น
- พระอนาคามี 5 ประเภท
- พระอรหันต์ 5 ประเภท
- อุบาสกธรรม 5 ประการ
- มิจฉาวณิชชา 5 ประการ
- ศีล 5 ประการ
- ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ
- พร 5 ประการ
- เทวทูต 5 ประการ
- ธรรมสมาธิ 5 ประการ
- นิยาม 5 ประการ
- หน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ
- หน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ
- หน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ
- หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ
- หน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ
- หน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ
- แนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ
- สิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ
- สิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ
- สิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ
- กิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ
- หน้าที่ของพระสงฆ์ที่พึงปฏิบัติต่อคฤหัสถ์ 6 ประการ
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 3)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 4)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 5)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 6)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 7)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 8)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 9)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 10)
- นิโรธ 5 ประการ
- พหูสูตมีองค์ 5 ประการ
- เบญจธรรม 5 ประการ
- อริยวัฑฒิ 5 ประการ
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อินทรีย์ 5 ประการ
- คารวตา 6 ประการ
- สารณียธรรม 6 ประการ
- ปิยรูปสาตรูป
- อายตนะภายใน 6 ประการ
- อายตนะภายนอก 6 ประการ
- วิญญาณ 6 ประการ
- สัมผัส 6 ประการ
- เวทนา 6 ประการ
- สัญญา 6 ประการ
- สัญเจตนา 6 ประการ
- ตัณหา 6 ประการ
- วิตก 6 ประการ
- วิจาร 6 ประการ
- อภิญญา 6 ประการ
- อภิฐาน 6 ประการ
- จริต 6 ประการ
- ธรรมคุณ 6 ประการ
- ภัพพตาธรรม 6 ประการ
- เวปุลลธรรม 6 ประการ
- สวรรค์ 6 ชั้น
- วัฒนมุข 6 ประการ
- อนุตตริยะ 6 ประการ
- ทวาร 6 ประการ
- อบายมุข 6 ประการ
- ธาตุ 6 ประการ
- ธาตุกัมมัฏฐาน 6 ประการ
- ทิศ 6 ประการ