
หน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ
ภรรยา ได้ชื่อว่าเป็นปัจฉิมทิศ คือ ทิศเบื้องหลัง ในทิศ 6 เพราะเป็นผู้ติดตามคอยสนับสนุนสามีในการทำงานหาเลี้ยงครอบครัว สามีภรรยาต้องมีความรักความซื่อสัตย์ต่อกัน ชีวิตคู่จึงจะมีความสุข
ภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีดังนี้
1. จัดแจงดูแลงานบ้านให้เรียบร้อย
งานบ้านเป็นสิ่งที่ภรรยาซึ่งได้ชื่อว่าเป็นแม่บ้านหรือแม่ศรีเรือนพึงจัดแจงให้เรียบร้อย ดังนั้น ผู้เป็นภรรยาก็พึงจัดแจงงานบ้านทุกประการให้เรียบร้อยดีงาม อย่าให้ขาดตกบกพร่อง
2. สงเคราะห์ญาติมิตรของสามีด้วยดี
ให้ถือว่าญาติมิตรของสามีเป็นเสมือนญาติมิตรของตนเอง พึงดูแลให้ดี เช่น ให้ความเคารพตามสมควรแก่ฐานะ ต้อนรับด้วยไมตรีจิตยิ้มแย้มแจ่มใส ไม่แสดงอาการรังเกียจ เป็นต้น
3. ไม่นอกใจสามี
ภรรยาต้องมีความซื่อสัตย์ต่อสามี ไม่นอกใจสามี ไม่ทำตัวเป็นคนเจ้าชู้หลายใจ ต้องซื่อสัตย์จริงใจต่อสามี รักเดียวใจเดียว
4. รักษาทรัพย์ที่หามาได้
ภรรยามีหน้าที่รักษาทรัพย์สินเงินทองที่สามีหามาได้ พึงรักษาทรัพย์สินนั้นให้ดี ถึงคราวต้องจับจ่ายใช้สอยก็พึงใช้อย่างระมัดระวัง ใช้จ่ายเพื่อสิ่งที่เป็นประโยชน์ภายในบ้านเท่านั้น ไม่สุรุ่ยสุร่าย ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย และไม่ผลาญทรัพย์ของสามีให้ฉิบหายไปกับสิ่งไร้ประโยชน์ เช่น การพนัน สุรายาเมา เป็นต้น
5. ขยันไม่เกียจคร้านในงานทั้งปวง
ภรรยาพึงเป็นคนขยัน ไม่เกียจคร้าน ไม่งอมืองอเท้า การงานใดที่ตนต้องรับผิดชอบก็ทำอย่งขยันขันแข็ง เช่น งานบ้าน หรืองานอื่นใดที่พอทำช่วยสามีได้ก็ช่วยทำอย่างขยันขันแข็ง
- อนันตริยกรรม 5 ประการ
- อภิณหปัจจเวกขณ์ 5 ประการ
- เวสารัชชกรณธรรม 5 ประการ
- องค์แห่งภิกษุใหม่ (นวกภิกขุธรรม) 5 ประการ
- องค์แห่งพระธรรมกถึก (ธรรมเทสกธรรม) 5 ประการ
- ธัมมัสสวนานิสงส์ 5 ประการ
- พละ 5 ประการ
- พละ 5 ของพระมหากษัตริย์
- นิวรณ์ 5 ประการ
- ขันธ์ 5 ประการ
- อนุปุพพิกถา 5 ประการ
- กามคุณ 5 ประการ
- ปีติ 5 ประการ
- จักขุ 5 ประการ
- ธรรมขันธ์ 5 ประการ
- มัจฉริยะ 5 ประการ
- วิญญาณ 5 ประการ
- มาร 5 ประการ
- วิมุตติ 5 ประการ
- เวทนา 5 ประการ
- สังวร 5 ประการ
- สุทธาวาส 5 ชั้น
- พระอนาคามี 5 ประเภท
- พระอรหันต์ 5 ประเภท
- อุบาสกธรรม 5 ประการ
- มิจฉาวณิชชา 5 ประการ
- ศีล 5 ประการ
- ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ
- พร 5 ประการ
- เทวทูต 5 ประการ
- ธรรมสมาธิ 5 ประการ
- นิยาม 5 ประการ
- หน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ
- หน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ
- หน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ
- หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ
- หน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ
- หน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ
- แนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ
- สิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ
- สิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ
- สิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ
- กิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ
- หน้าที่ของพระสงฆ์ที่พึงปฏิบัติต่อคฤหัสถ์ 6 ประการ
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 3)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 4)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 5)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 6)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 7)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 8)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 9)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 10)
- นิโรธ 5 ประการ
- พหูสูตมีองค์ 5 ประการ
- เบญจธรรม 5 ประการ
- อริยวัฑฒิ 5 ประการ
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อินทรีย์ 5 ประการ
- คารวตา 6 ประการ
- สารณียธรรม 6 ประการ
- ปิยรูปสาตรูป
- อายตนะภายใน 6 ประการ
- อายตนะภายนอก 6 ประการ
- วิญญาณ 6 ประการ
- สัมผัส 6 ประการ
- เวทนา 6 ประการ
- สัญญา 6 ประการ
- สัญเจตนา 6 ประการ
- ตัณหา 6 ประการ
- วิตก 6 ประการ
- วิจาร 6 ประการ
- อภิญญา 6 ประการ
- อภิฐาน 6 ประการ
- จริต 6 ประการ
- ธรรมคุณ 6 ประการ
- ภัพพตาธรรม 6 ประการ
- เวปุลลธรรม 6 ประการ
- สวรรค์ 6 ชั้น
- วัฒนมุข 6 ประการ
- อนุตตริยะ 6 ประการ
- ทวาร 6 ประการ
- อบายมุข 6 ประการ
- ธาตุ 6 ประการ
- ธาตุกัมมัฏฐาน 6 ประการ
- ทิศ 6 ประการ