
สิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ
ลูกจ้าง จัดเป็นเหฏฐิมทิศ หรือ ทิศเบื้องล่าง ในทิศ 6 เพราะเป็นผู้ที่คอยช่วยเหลือรับใช้นายจ้าง ช่วยทำงานต่าง ๆ และเป็นฐานกำลังให้แก่นายจ้าง การงานทั้งหลายของนายจ้างจะสำเร็จลุล่วงได้ต้องอาศัยลูกจ้าง ดังนั้น ลูกจ้างจึงมีความสำคัญต่อการประสบความสำเร็จของนายจ้าง
การดูแลเอาใจใส่ลูกจ้างเป็นสิ่งที่นายจ้างทั้งหลายพึงใส่ใจและให้ความสำคัญ หลักปฏิบัติที่นายจ้างพึงปฏิบัติต่อลูกจ้างมี 5 ประการ ดังนี้
1. จัดการงานให้เหมาะสมแก่กำลัง
นายจ้างควรใช้งานลูกจ้างตามกำลังความสามารถ คือใช้ให้เขาทำงานที่เขาถนัด วางคนให้ถูกงาน ใครมีความสามารถด้านใดก็ใช้งานในด้านนั้น และนอกจากนี้ก็ต้องใช้งานตามสมควรแก่กำลัง ไม่ใช้งานหนักจนเกินไปด้วย
2. ให้ค่าจ้างรางวัลสมควรแก่การงานและความเป็นอยู่
นายจ้างควรจ่ายค่าจ้างแก่ลูกจ้างให้สมควรแก่หน้าที่งานที่เขาได้รับและพิจารณาสภาพความเป็นอยู่ในสถานที่นั้น ๆ ด้วย เช่น ค่าครองชีพ เพื่อให้เขาสามารถอยู่ได้ไม่เดือดร้อน
3. รักษาพยาบาลในยามเจ็บไข้
ในยามที่ลูกจ้างเจ็บไข้ได้ป่วย นายจ้างควรมีน้ำใจช่วยเหลือดูแลตามสมควร ไม่ทอดทิ้งให้เผชิญชะตากรรมเพียงลำพัง
4. แจกของแปลกให้กิน
เมื่อมีโอกาสไปเยือนสถานที่ต่าง ๆ มีอาหารแปลก ๆ มีขนมแปลก ๆ หรือมีสิ่งของใดที่แปลกหูแปลกตา ก็ซื้อมาเป็นของฝากให้ลูกจ้างบ้างตามโอกาส จะทำให้ลูกจ้างดีใจ และสามารถมัดใจลูกจ้างได้
5. ปล่อยในสมัย
กำหนดให้มีวันหยุดพักผ่อนตามโอกาส เช่น วันหยุดราชการ วันนักขัตฤกษ์ วันสำคัญต่าง ๆ เพื่อให้ลูกจ้างได้พักผ่อนหรือกลับไปเยี่ยมครอบครัวบ้าง
นายจ้างที่ดีควรปฏิบัติตามหลัก 5 ข้อนี้ให้ได้ เพราะนั่นเป็นการแสดงถึงความเป็นนายจ้างที่มีคุณธรรมน้ำใจ และจะเป็นที่เคารพรักของลูกจ้าง
- อนันตริยกรรม 5 ประการ
- อภิณหปัจจเวกขณ์ 5 ประการ
- เวสารัชชกรณธรรม 5 ประการ
- องค์แห่งภิกษุใหม่ (นวกภิกขุธรรม) 5 ประการ
- องค์แห่งพระธรรมกถึก (ธรรมเทสกธรรม) 5 ประการ
- ธัมมัสสวนานิสงส์ 5 ประการ
- พละ 5 ประการ
- พละ 5 ของพระมหากษัตริย์
- นิวรณ์ 5 ประการ
- ขันธ์ 5 ประการ
- อนุปุพพิกถา 5 ประการ
- กามคุณ 5 ประการ
- ปีติ 5 ประการ
- จักขุ 5 ประการ
- ธรรมขันธ์ 5 ประการ
- มัจฉริยะ 5 ประการ
- วิญญาณ 5 ประการ
- มาร 5 ประการ
- วิมุตติ 5 ประการ
- เวทนา 5 ประการ
- สังวร 5 ประการ
- สุทธาวาส 5 ชั้น
- พระอนาคามี 5 ประเภท
- พระอรหันต์ 5 ประเภท
- อุบาสกธรรม 5 ประการ
- มิจฉาวณิชชา 5 ประการ
- ศีล 5 ประการ
- ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ
- พร 5 ประการ
- เทวทูต 5 ประการ
- ธรรมสมาธิ 5 ประการ
- นิยาม 5 ประการ
- หน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ
- หน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ
- หน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ
- หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ
- หน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ
- หน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ
- แนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ
- สิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ
- สิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ
- สิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ
- กิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ
- หน้าที่ของพระสงฆ์ที่พึงปฏิบัติต่อคฤหัสถ์ 6 ประการ
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 3)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 4)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 5)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 6)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 7)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 8)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 9)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 10)
- นิโรธ 5 ประการ
- พหูสูตมีองค์ 5 ประการ
- เบญจธรรม 5 ประการ
- อริยวัฑฒิ 5 ประการ
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อินทรีย์ 5 ประการ
- คารวตา 6 ประการ
- สารณียธรรม 6 ประการ
- ปิยรูปสาตรูป
- อายตนะภายใน 6 ประการ
- อายตนะภายนอก 6 ประการ
- วิญญาณ 6 ประการ
- สัมผัส 6 ประการ
- เวทนา 6 ประการ
- สัญญา 6 ประการ
- สัญเจตนา 6 ประการ
- ตัณหา 6 ประการ
- วิตก 6 ประการ
- วิจาร 6 ประการ
- อภิญญา 6 ประการ
- อภิฐาน 6 ประการ
- จริต 6 ประการ
- ธรรมคุณ 6 ประการ
- ภัพพตาธรรม 6 ประการ
- เวปุลลธรรม 6 ประการ
- สวรรค์ 6 ชั้น
- วัฒนมุข 6 ประการ
- อนุตตริยะ 6 ประการ
- ทวาร 6 ประการ
- อบายมุข 6 ประการ
- ธาตุ 6 ประการ
- ธาตุกัมมัฏฐาน 6 ประการ
- ทิศ 6 ประการ