
กิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ
สมณะหรือพระภิกษุสามเณร จัดเป็นอุปริมทิศ คือ ทิศเบื้องบน ใน ทิศ 6 เพราะท่านเป็นผู้ที่สูงด้วยคุณธรรม สูงด้วยศีลาจารวัตร และเป็นผู้นำทางจิตใจ ฆราวาสทั้งหลายพึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 สถาน คือ
1. จะทำสิ่งใด ก็ทำด้วยเมตตา
เราทั้งหลายพึงปฏิบัติต่อสมณะหรือพระภิกษุผู้ปฏิบัติเพื่อความเป็นสมณะ หรือแม่แต่สามเณรผู้เป็นเหล่ากอแห่งสมณะ ด้วยความเคารพ นอบน้อม และด้วยไมตรีจิต ไม่แสดงกิริยาที่เบียดเบียนหรือไม่เป็นมิตร
2. จะพูดสิ่งใด ก็พูดด้วยเมตตา
เราทั้งหลายพึงพูดจาปราศัยกับสมณะหรือพระภิกษุผู้ปฏิบัติเพื่อความเป็นสมณะ หรือแม่แต่สามเณรผู้เป็นเหล่ากอแห่งสมณะ ด้วยวาจาที่ไพเราะอ่อนหวาน น่าฟัง และสุภาพอ่อนโยน ไม่กล่าววาจาก้าวร้าวหยาบคาย
3. จะคิดสิ่งใด ก็คิดด้วยเมตตา
เราทั้งหลายจะคิดเรื่องใด ๆ อันเกี่ยวเนื่องด้วยสมณะหรือพระภิกษุผู้ปฏิบัติเพื่อความเป็นสมณะ หรือแม่แต่สามเณรผู้เป็นเหล่ากอแห่งสมณะ ก็พึงคิดด้วยเมตตาจิต คิดด้วยมโนสุจริต ไม่คิดเบียดเบียนมุ่งร้าย
4. ต้อนรับด้วยความเต็มใจ
เราทั้งหลายพึงต้อนรับสมณะหรือพระภิกษุผู้ปฏิบัติเพื่อความเป็นสมณะ หรือแม่แต่สามเณรผู้เป็นเหล่ากอแห่งสมณะผู้มาสู่เรือนด้วยความเต็มใจ ต้อนรับด้วยไมตรีจิต
5. อุปถัมภ์ด้วยปัจจัยสี่
เราทั้งหลายพึงถวายการอุปถัมภ์สนับสนุนสมณะหรือพระภิกษุผู้ปฏิบัติเพื่อความเป็นสมณะ หรือแม่แต่สามเณรผู้เป็นเหล่ากอแห่งสมณะด้วยปัจจัยสี่ ให้ท่านได้มีกำลังบำเพ็ญสมณธรรมเพื่อกระทำที่สุดแห่งทุกข์ และสามารถเผยแผ่พระสัทธรรมแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าให้แผ่ไพศาลและดำรงคงมั่นตลอดไป
- อนันตริยกรรม 5 ประการ
- อภิณหปัจจเวกขณ์ 5 ประการ
- เวสารัชชกรณธรรม 5 ประการ
- องค์แห่งภิกษุใหม่ (นวกภิกขุธรรม) 5 ประการ
- องค์แห่งพระธรรมกถึก (ธรรมเทสกธรรม) 5 ประการ
- ธัมมัสสวนานิสงส์ 5 ประการ
- พละ 5 ประการ
- พละ 5 ของพระมหากษัตริย์
- นิวรณ์ 5 ประการ
- ขันธ์ 5 ประการ
- อนุปุพพิกถา 5 ประการ
- กามคุณ 5 ประการ
- ปีติ 5 ประการ
- จักขุ 5 ประการ
- ธรรมขันธ์ 5 ประการ
- มัจฉริยะ 5 ประการ
- วิญญาณ 5 ประการ
- มาร 5 ประการ
- วิมุตติ 5 ประการ
- เวทนา 5 ประการ
- สังวร 5 ประการ
- สุทธาวาส 5 ชั้น
- พระอนาคามี 5 ประเภท
- พระอรหันต์ 5 ประเภท
- อุบาสกธรรม 5 ประการ
- มิจฉาวณิชชา 5 ประการ
- ศีล 5 ประการ
- ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ
- พร 5 ประการ
- เทวทูต 5 ประการ
- ธรรมสมาธิ 5 ประการ
- นิยาม 5 ประการ
- หน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ
- หน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ
- หน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ
- หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ
- หน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ
- หน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ
- แนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ
- สิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ
- สิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ
- สิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ
- กิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ
- หน้าที่ของพระสงฆ์ที่พึงปฏิบัติต่อคฤหัสถ์ 6 ประการ
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 3)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 4)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 5)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 6)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 7)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 8)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 9)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 10)
- นิโรธ 5 ประการ
- พหูสูตมีองค์ 5 ประการ
- เบญจธรรม 5 ประการ
- อริยวัฑฒิ 5 ประการ
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อินทรีย์ 5 ประการ
- คารวตา 6 ประการ
- สารณียธรรม 6 ประการ
- ปิยรูปสาตรูป
- อายตนะภายใน 6 ประการ
- อายตนะภายนอก 6 ประการ
- วิญญาณ 6 ประการ
- สัมผัส 6 ประการ
- เวทนา 6 ประการ
- สัญญา 6 ประการ
- สัญเจตนา 6 ประการ
- ตัณหา 6 ประการ
- วิตก 6 ประการ
- วิจาร 6 ประการ
- อภิญญา 6 ประการ
- อภิฐาน 6 ประการ
- จริต 6 ประการ
- ธรรมคุณ 6 ประการ
- ภัพพตาธรรม 6 ประการ
- เวปุลลธรรม 6 ประการ
- สวรรค์ 6 ชั้น
- วัฒนมุข 6 ประการ
- อนุตตริยะ 6 ประการ
- ทวาร 6 ประการ
- อบายมุข 6 ประการ
- ธาตุ 6 ประการ
- ธาตุกัมมัฏฐาน 6 ประการ
- ทิศ 6 ประการ