
อาจารย์ 4 ประเภท
อาจารย์ แปลว่า ผู้ประพฤติการอันเกื้อกูลแก่ศิษย์ ผู้ที่ศิษย์พึงประพฤติด้วยความเอื้อเฟื้อ ผู้สั่งสอนวิชาและอบรมดูแลความประพฤติ แบ่งเป็น 4 ประเภท คือ
1. ปัพพัชชาจารย์
ปัพพัชชาจารย์ อาจารย์ในบรรพชา คือ ท่านผู้ให้สิกขาบทในการบรรพชา ในขณะกุลบุตรบรรพชาเป็นสามเณร ต้องมีอาจารย์ผู้ให้สิกขาบท ปัพพัชชาจารย์ หมายเอาอาจารย์นั้น
2. อุปสัมปทาจารย์
อุปสัมปทาจารย์ อาจารย์ในอุปสมบท คือ ท่านผู้สวดกรรมวาจาในอุปสมบทกรรม ในขณะที่กุลบุตรอุปสมบทเป็นพระภิกษุ จะต้องมีอาจารย์ผู้สวดกรรมวาจาในอุปสมบทกรรมนั้น การอุปสมบทจึงจะสมบูรณ์บริบูรณ์ อุปสัมปทาจารย์ หมายเอาอาจารย์นั้น
3. นิสสยาจารย์
นิสสยาจารย์ อาจารย์ผู้ให้นิสัย คือ ท่านที่ตนไปขอถือนิสัยเป็นอันเตวาสิก คือยอมตนเป็นศิษย์อยู่ในปกครอง ภิกษุผู้อุปสมบทยังไม่ครบ 5 พรรษา ยังไม่เป็นนิสสัยมุตตกะ เมื่อไปอยู่ในสำนักอื่น จะต้องเข้าหาภิกษุรูปหนึ่งผู้เป็นนิสสัยมุตตกะ เพื่อขอนิสสัยจากท่าน คือเข้าไปอาศัยท่านขอให้ท่านเป็นอาจารย์คอยแนะนำพร่ำสอนและปกครองนั่นเอง นิสสยาจารย์ หมายเอาอาจารย์นั้น
4. อุทเทสาจารย์ หรือ ธัมมาจารย์
อุทเทสาจารย์ หรือ ธัมมาจารย์ อาจารย์ผู้ให้อุเทศ หรือ อาจารย์ผู้สอนธรรม คือ ท่านที่สั่งสอนให้วิชาความรู้ โดยหลักวิชาก็ดี เป็นที่ปรึกษาไต่ถามค้นคว้าก็ดี
บางแห่งเติม โอวาทาจารย์ อาจารย์ผู้ให้โอวาท คืออบรมตักเตือนแนะนำเป็นครั้งคราวเข้าอีก รวมเป็น อาจารย์ 5
- วุฑฒิธรรม 4 ประการ
- จักร 4 ประการ
- อคติ 4 ประการ
- อันตรายของภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่ 4 ประการ
- ปธาน 4 ประการ
- อธิษฐานธรรม 4 ประการ
- อิทธิบาท 4 ประการ
- สิ่งที่ไม่ควรประมาท 4 ประการ
- ปาริสุทธิศีล 4 ประการ
- อารักขกัมมัฏฐาน 4 ประการ
- พรหมวิหาร 4 ประการ
- สติปัฏฐาน 4 ประการ
- ธาตุกัมมัฏฐาน 4 ประการ
- อริยสัจ 4 ประการ
- อบาย 4 ประเภท
- อปัสเสนธรรม 4 ประการ
- อัปปมัญญา 4 ประการ
- อริยวงศ์ 4 ประการ
- อรูป 4 ประการ
- อวิชชา 4 ประการ
- อาหาร 4 ประการ
- อุปาทาน 4 ประการ
- โอฆะ 4 ประการ
- กิจในอริยสัจ 4
- ฌาน 4 ประการ
- ทักขิณาวิสุทธิ 4 ประการ
- ธรรมสมาทาน 4 ประการ
- บริษัท 4 (หมวดที่ 1)
- บริษัท 4 (หมวดที่ 2)
- บุคคล 4 ประเภท
- ปฏิปทา 4 ประการ
- ปฏิสัมภิทา 4 ประการ
- ภูมิ 4 ประการ
- มรรค 4 ประการ
- ผล 4 ประการ
- โยนิ 4 ประการ
- วรรณะ 4 ประการ
- วิบัติ 4 ประการ (หมวดที่ 1)
- วิบัติ 4 ประการ (หมวดที่ 2)
- เวสารัชชญาณ 4 ประการ
- เจดีย์ 4 ประการ
- ถูปารหบุคคล 4 ประเภท
- ธาตุ 4 ประการ
- ปรมัตถธรรม 4 ประการ
- ประมาณ (ปมาณิก) 4 ประเภท
- ปัจจัย 4 ประการ
- นิสสัย 4 ประการ
- ปัญญาวุฒิธรรม 4 ประการ
- พร 4 ประการ
- พละ 4 ประการ
- โภควิภาค 4
- มหาปเทส 4 ประการ
- โยคะ 4 ประการ
- เทสนาวิธี 4 ประการ
- วิธีปฏิบัติต่อทุกข์และสุข 4 ประการ
- สมบัติ 4 ประการ
- วิปลาส 4 ประการ
- เทวทูต 4 ประการ
- พหุการธรรม 4 ประการ
- สัทธา (ศรัทธา) 4 ประการ
- สมชีวิธรรม 4 ประการ
- สมาธิภาวนา 4 ประการ
- สังขาร 4 ประการ
- ราชสังคหวัตถุ 4 ประการ
- สังเวชนียสถาน 4 ประการ
- สัมปทา 4 ประการ
- โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 1)
- โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 2)
- โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 3)
- ธรรม 4 ประการ
- อาจารย์ 4 ประเภท
- สัมปชัญญะ 4 ประการ
- ลักษณะของขันติ 4 ประการ
- ภาวนา 4 ประการ
- มหาภูต (ภูตรูป) 4 ประการ
- อริยบุคคล 4 ประเภท
- พระอรหันต์ 4 ประเภท
- อาสวะ 4 ประการ
- นิมิต 4 ประการ
- กรรมกิเลส 4 ประการ
- อบายมุข 4 ประการ
- ทิฏฐิธัมมิกัตถะ 4 ประการ
- สัมปรายิกัตถะ 4 ประการ
- มิตรเทียม 4 ประเภท
- มิตรแท้ 4 ประเภท
- สังคหวัตถุ 4 ประการ
- สุขของคฤหัสถ์ 4 ประการ
- ความปรารถนาที่สมหมายได้ยาก 4 ประการ
- เหตุที่ตระกูลมั่งคั่งตั้งอยู่ไม่ได้นาน 4 ประการ
- กุลจิรัฏฐิติธรรม 4 ประการ
- ฆราวาสธรรม 4 ประการ