
ภัพพตาธรรม 6 ประการ
ภัพพตาธรรม คือ ธรรมอันทำให้เป็นผู้ควรที่จะบรรลุกุศลธรรมที่ยังไม่บรรลุ และทำกุศลธรรมที่บรรลุแล้วให้เจริญเพิ่มพูน คุณสมบัติที่ทำให้เป็นผู้ควร เหมาะ สามารถ หรือพร้อม ที่จะได้จะถึงสิ่งดีงามที่ยังไม่ได้ไม่ถึง และทำสิ่งดีงามที่ได้ที่ถึงแล้วให้เจริญเพิ่มพูน มี 6 ประการ คือ
1. ฉลาดในหลักความเจริญ
ฉลาดในหลักความเจริญ คือ รู้และเข้าใจกระบวนการหรือเหตุปัจจัยที่จะทำให้เกิดความเจริญเพิ่มพูน แล้วปฏิบัติตนหรือดำเนินตามหลักนั้น เพื่อให้เข้าถึงความเจริญที่มุ่งหมาย
2. ฉลาดในหลักความเสื่อม
ฉลาดในหลักความเสื่อม คือ รู้และเข้าใจกระบวนการหรือเหตุปัจจัยที่จะทำให้เกิดความเสื่อม แล้วหลีกเลี่ยงกระบวนการหรือเหตุปัจจัยเหล่านั้น เพื่อนำตนให้ห่างจากความเสื่อมทั้งปวง
3. ฉลาดในอุบาย
ฉลาดในอุบาย คือ รู้ เข้าใจ ชำนาญ ในวิธีการที่จะแก้ไข จัดทำ หรือดำเนินการกิจต่าง ๆ ให้สำเร็จลุล่วงสมความมุ่งหมาย ไม่ให้เกิดข้อบกพร่องเสียหาย ฉลาดในการหาวิธีสร้างคุณงามความดีให้มีในตนยิ่ง ๆ ขึ้นไป
4. สร้างฉันทะที่จะบรรลุกุศลธรรมที่ยังมิได้บรรลุ
สร้างฉันทะที่จะบรรลุกุศลธรรมที่ยังมิได้บรรลุ คือ มีความพอใจ ความต้องการ หรือความใฝ่ใจ ที่จะได้บรรลุกุศลธรรมที่ยังไม่มีในตนอยู่เสมอ และปรารถนาที่จะทำให้ได้ผลดียิ่ง ๆ ขึ้นไป ไม่เบื่อหน่าย
5. ระวังรักษากุศลธรรมที่ได้ลุถึงแล้ว
ระวังรักษากุศลธรรมที่ได้ลุถึงแล้ว คือ มีความเพียรในการรักษาคุณงามความดีที่มีอยู่แล้วไม่ให้เสื่อมไป ได้แก่ การพยายามประคับประคองรักษาคุณงามความดีของตนที่มีอยู่ไม่ให้เสื่อมถอย รักษาสภาพจิตใจของตัวเองที่ดีอยู่แล้วไม่ให้อ่อนแอจนตกไปเป็นทาสของกิเลส รักษาจิตใจให้เข้มแข็ง ไม่ให้ถูกชักจูงไปทำความชั่วได้ง่าย ๆ
6. ทำให้สำเร็จลุจุดหมายด้วยการกระทำต่อเนื่องไม่ยั้งหยุดหรือขาดตอน
ทำให้สำเร็จลุจุดหมายด้วยการกระทำต่อเนื่องไม่ยั้งหยุดหรือขาดตอน คือ สร้างกุศลธรรมอย่างต่อเนื่อง ไม่หยุด พยายามสร้างคุณงามความดีให้เกิดขึ้นในสันดานให้มาก ๆ ด้วยการบำเพ็ญทาน รักษาศีล เจริญภาวนา ไม่ให้ขาดช่วงหรือขาดตอน ดำเนิน
- อนันตริยกรรม 5 ประการ
- อภิณหปัจจเวกขณ์ 5 ประการ
- เวสารัชชกรณธรรม 5 ประการ
- องค์แห่งภิกษุใหม่ (นวกภิกขุธรรม) 5 ประการ
- องค์แห่งพระธรรมกถึก (ธรรมเทสกธรรม) 5 ประการ
- ธัมมัสสวนานิสงส์ 5 ประการ
- พละ 5 ประการ
- พละ 5 ของพระมหากษัตริย์
- นิวรณ์ 5 ประการ
- ขันธ์ 5 ประการ
- อนุปุพพิกถา 5 ประการ
- กามคุณ 5 ประการ
- ปีติ 5 ประการ
- จักขุ 5 ประการ
- ธรรมขันธ์ 5 ประการ
- มัจฉริยะ 5 ประการ
- วิญญาณ 5 ประการ
- มาร 5 ประการ
- วิมุตติ 5 ประการ
- เวทนา 5 ประการ
- สังวร 5 ประการ
- สุทธาวาส 5 ชั้น
- พระอนาคามี 5 ประเภท
- พระอรหันต์ 5 ประเภท
- อุบาสกธรรม 5 ประการ
- มิจฉาวณิชชา 5 ประการ
- ศีล 5 ประการ
- ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ
- พร 5 ประการ
- เทวทูต 5 ประการ
- ธรรมสมาธิ 5 ประการ
- นิยาม 5 ประการ
- หน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ
- หน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ
- หน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ
- หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ
- หน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ
- หน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ
- แนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ
- สิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ
- สิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ
- สิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ
- กิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ
- หน้าที่ของพระสงฆ์ที่พึงปฏิบัติต่อคฤหัสถ์ 6 ประการ
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 3)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 4)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 5)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 6)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 7)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 8)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 9)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 10)
- นิโรธ 5 ประการ
- พหูสูตมีองค์ 5 ประการ
- เบญจธรรม 5 ประการ
- อริยวัฑฒิ 5 ประการ
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อินทรีย์ 5 ประการ
- คารวตา 6 ประการ
- สารณียธรรม 6 ประการ
- ปิยรูปสาตรูป
- อายตนะภายใน 6 ประการ
- อายตนะภายนอก 6 ประการ
- วิญญาณ 6 ประการ
- สัมผัส 6 ประการ
- เวทนา 6 ประการ
- สัญญา 6 ประการ
- สัญเจตนา 6 ประการ
- ตัณหา 6 ประการ
- วิตก 6 ประการ
- วิจาร 6 ประการ
- อภิญญา 6 ประการ
- อภิฐาน 6 ประการ
- จริต 6 ประการ
- ธรรมคุณ 6 ประการ
- ภัพพตาธรรม 6 ประการ
- เวปุลลธรรม 6 ประการ
- สวรรค์ 6 ชั้น
- วัฒนมุข 6 ประการ
- อนุตตริยะ 6 ประการ
- ทวาร 6 ประการ
- อบายมุข 6 ประการ
- ธาตุ 6 ประการ
- ธาตุกัมมัฏฐาน 6 ประการ
- ทิศ 6 ประการ