หัวข้อธรรม

หลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนา ที่พุทธศาสนิกชนควรรู้และทำความเข้าใจให้ถ่องแท้ เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้เกิดประโยชน์สูงสุด

นิโรธ 5 ประการ

นิโรธ 5 ประการ

นิโรธ 5 ประการ 1. วิกขัมภนนิโรธ ความดับด้วยการข่มไว้ 2. ตทังคนิโรธ ความดับด้วยองค์นั้น ๆ 3. สมุจเฉทนิโรธ ความดับกิเลสด้วยการตัดขาด 4. ปฏิปัสสัทธินิโรธ ความดับความสงบระงับ 5. นิสสรณนิโรธ ความดับด้วยการสลัดออก
อ่านต่อนิโรธ 5 ประการ
นิยาม 5 ประการ

นิยาม 5 ประการ

นิยาม 5 ประการ 1. อุตุนิยาม กฎธรรมชาติเกี่ยวกับอุณหภูมิ 2. พีชนิยาม กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการสืบพันธุ์ 3. จิตตนิยาม กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการทำงานของจิต 4. กรรมนิยาม กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการกระทำของมนุษย์ 5. ธรรมนิยาม กฎแห่งธรรม
อ่านต่อนิยาม 5 ประการ
สุทธาวาส 5 ชั้น

สุทธาวาส 5 ชั้น

สุทธาวาส 5 ชั้น 1. อวิหา ภูมิของพรหมผู้ไม่ยอมละที่อยู่ของตน 2. อตัปปา ภูมิของพรหมผู้ไม่มีความสะดุ้งหวาดกลัวต่ออะไร 3. สุทัสสา ภูมิของพรหมผู้มีร่างอันงดงาม 4. สุทัสสี ภูมิของพรหมผู้มีความงดงามยิ่งกว่าพรหมชั้นสุทัสสา 5. อกนิฏฐา ภูมิของพรหมผู้สูงสุด
อ่านต่อสุทธาวาส 5 ชั้น
สังวร 5 ประการ

สังวร 5 ประการ

สังวร 5 ประการ 1. สีลสังวร การสำรวมระวังด้วยศีล 2. สติสังวร การสำรวมระวังด้วยสติ 3. ญาณสังวร การสำรวมระวังด้วยญาณ 4. ขันติสังวร การสำรวมระวังด้วยความอดทน 5. วิริยสังวร การสำรวมระวังด้วยความเพียร
อ่านต่อสังวร 5 ประการ
วิมุตติ 5 ประการ

วิมุตติ 5 ประการ

วิมุตติ 5 ประการ 1. วิกขัมภนวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยการข่มไว้ 2. ตทังควิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยองค์นั้น ๆ 3. สมุจเฉทวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยการตัดขาด 4. ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยความสงบระงับ 5. นิสสรณวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยการสลัดออก
อ่านต่อวิมุตติ 5 ประการ
วิญญาณ 5 ประการ

วิญญาณ 5 ประการ

วิญญาณ 5 ประการ 1. จักขุวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางตา 2. โสตวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางหู 3. ฆานวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางจมูก 4. ชิวหาวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางลิ้น 5. กายวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางกาย
อ่านต่อวิญญาณ 5 ประการ
มาร 5 ประการ

มาร 5 ประการ

มาร 5 ประการ 1. ขันธมาร มารคือเบญจขันธ์ 2. กิเลสมาร มารคือกิเลส 3. อภิสังขารมาร มารคืออภิสังขาร 4. เทวปุตตมาร มารคือเทพบุตร 5. มัจจุมาร มารคือความตาย
อ่านต่อมาร 5 ประการ
มัจฉริยะ 5 ประการ

มัจฉริยะ 5 ประการ

มัจฉริยะ 5 ประการ 1. อาวาสมัจฉริยะ ตระหนี่ที่อยู่ 2. กุลมัจฉริยะ ตระหนี่ตระกูล 3. ลาภมัจฉริยะ ตระหนี่ลาภ 4. วัณณมัจฉริยะ ตระหนี่วรรณะ 5. ธัมมมัจฉริยะ ตระหนี่ธรรม
อ่านต่อมัจฉริยะ 5 ประการ
ปีติ 5 ประการ

ปีติ 5 ประการ

ปีติ 5 ประการ 1. ขุททกาปีติ ปีติเล็กน้อย 2. ขณิกาปีติ ปีติชั่วขณะ 3. โอกกันติกาปีติ ปีติเป็นพักๆ 4. อุพเพงคาปีติ ปีติโลดโผน 5. ผรณาปีติ ปีติซาบซ่าน
อ่านต่อปีติ 5 ประการ
ธรรมขันธ์ 5 ประการ

ธรรมขันธ์ 5 ประการ

ธรรมขันธ์ 5 ประการ 1. สีลขันธ์ กองศีล 2. สมาธิขันธ์ กองสมาธิ 3. ปัญญาขันธ์ กองปัญญา 4. วิมุตติขันธ์ กองวิมุตติ 5. วิมุตติญาณทัสสนขันธ์ กองวิมุตติญาณทัสสนะ
อ่านต่อธรรมขันธ์ 5 ประการ
อนุปุพพิกถา 5 ประการ

อนุปุพพิกถา 5 ประการ

อนุปุพพิกถา 5 ประการ 1. ทานกถา กล่าวถึงการให้ 2. สีลกถา กล่าวถึงศีล 3. สัคคกถา กล่าวถึงสวรรค์ 4. กามาทีนวกถา กล่าวถึงโทษของกาม 5. เนกขัมมานิสังสกถา กล่าวถึงอานิสงส์ของการออกจากกาม
อ่านต่ออนุปุพพิกถา 5 ประการ
ขันธ์ 5 ประการ

ขันธ์ 5 ประการ

ขันธ์ คือ กองแห่งรูปธรรมและนามธรรมห้าหมวดที่ประชุมกันเข้าเป็นหน่วยรวม ซึ่งบัญญัติเรียกว่า สัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา เป็นต้น ส่วนประกอบห้าอย่างที่รวมเข้าเป็นชีวิต
อ่านต่อขันธ์ 5 ประการ
นิวรณ์ 5 ประการ

นิวรณ์ 5 ประการ

นิวรณ์ 5 ประการ 1. กามฉันทะ ความพอใจในกาม 2. พยาบาท ความคิดร้าย 3. ถีนมิทธะ ความหดหู่และเซื่องซึม 4. อุทธัจจกุกกุจจะ ความฟุ้งซ่านและร้อนใจ 5. วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย
อ่านต่อนิวรณ์ 5 ประการ