หัวข้อธรรม

หลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนา ที่พุทธศาสนิกชนควรรู้และทำความเข้าใจให้ถ่องแท้ เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ธัมมัสสวนานิสงส์ (อานิสงส์ของการฟังธรรม) 5 ประการ

ธัมมัสสวนานิสงส์ (อานิสงส์ของการฟังธรรม) 5 ประการ

ธัมมัสสวนานิสงส์ 5 ประการ 1. อสฺสุตํ สุณาติ ย่อมได้ฟังสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง 2. สุตํ ปริโยทเปติ สิ่งที่เคยได้ฟัง ก็ทำให้แจ่มแจ้ง เข้าใจชัดเจนยิ่งขึ้น 3. กงฺขํ วิหนติ บรรเทาความสงสัยเสียได้ 4. ทิฏฺฐึ อุชุํ กโรติ ทำความเห็นให้ถูกต้องได้ 5. จิตฺตมสฺส ปสีทติ จิตของเขาย่อมผ่องใส
อ่านต่อธัมมัสสวนานิสงส์ (อานิสงส์ของการฟังธรรม) 5 ประการ
องค์แห่งพระธรรมกถึก (ธรรมเทสกธรรม) 5 ประการ

องค์แห่งพระธรรมกถึก (ธรรมเทสกธรรม) 5 ประการ

องค์แห่งพระธรรมกถึก 5 ประการ 1. อนุปุพฺพิกถํ กล่าวความไปตามลำดับ 2. ปริยายทสฺสาวี อ้างเหตุผลแนะนำให้ผู้ฟังเข้าใจ 3. อนุทยตํ ปฏิจฺจ แสดงธรรมด้วยอาศัยเมตตา 4. น อามิสนฺตโร ไม่แสดงธรรมด้วยเห็นแก่อามิส 5. อตฺตานญฺจ ปรญฺจ อนุปหจฺจ แสดงธรรมไม่กระทบตนและผู้อื่น
อ่านต่อองค์แห่งพระธรรมกถึก (ธรรมเทสกธรรม) 5 ประการ
องค์แห่งภิกษุใหม่ (นวกภิกขุธรรม) 5 ประการ

องค์แห่งภิกษุใหม่ (นวกภิกขุธรรม) 5 ประการ

องค์แห่งภิกษุใหม่ (นวกภิกขุธรรม) 5 ประการ 1. ปาติโมกขสังวร สำรวมในพระปาฏิโมกข์ 2. อินทรียสังวร สำรวมอินทรีย์ 3. ภัสสปริยันตะ พูดคุยมีขอบเขต 4. กายวูปกาสะ ปลีกกายอยู่สงบ 5. สัมมาทัสสนะ ปลูกฝังความเห็นชอบ
อ่านต่อองค์แห่งภิกษุใหม่ (นวกภิกขุธรรม) 5 ประการ
เวสารัชชกรณธรรม 5 ประการ

เวสารัชชกรณธรรม 5 ประการ

เวสารัชชกรณธรรม 5 ประการ 1. ศรัทธา ความเชื่อ 2. ศีล การรักษากาย วาจา ใจ ให้เรียบร้อยดีงาม 3. พาหุสัจจะ ความเป็นผู้ได้ยินได้ฟังมามาก 4. วิริยารัมภะ การปรารภความเพียร 5. ปัญญา ความรอบรู้
อ่านต่อเวสารัชชกรณธรรม 5 ประการ
อนันตริยกรรม 5 ประการ

อนันตริยกรรม 5 ประการ

อนันตริยกรรม 5 ประการ 1. มาตุฆาต การฆ่ามารดา 2. ปิตุฆาต การฆ่าบิดา 3. อรหันตฆาต การฆ่าพระอรหันต์ 4. โลหิตุปบาท การทำร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงขั้นทำให้พระโลหิตห้อขึ้นไป 5. สังฆเภท การทำสงฆ์ให้แตกกัน
อ่านต่ออนันตริยกรรม 5 ประการ
อุบาสกธรรม 5 ประการ

อุบาสกธรรม 5 ประการ

อุบาสกธรรม 5 ประการ 1. ประกอบด้วยศรัทธา 2. รักษาศีลบริสุทธิ์ 3. ไม่ถือมงคลตื่นข่าว คือเชื่อกรรม ไม่เชื่อมงคล 4. ไม่แสวงหาเขตบุญนอกพระพุทธศาสนา 5. บำเพ็ญบุญเฉพาะในพระพุทธศาสนา
อ่านต่ออุบาสกธรรม 5 ประการ
มิจฉาวณิชชา 5 ประการ

มิจฉาวณิชชา 5 ประการ

มิจฉาวณิชชา 5 ประการ 1. สัตถวณิชชา การค้าขายอาวุธ 2. สัตตวณิชชา การค้าขายมนุษย์ 3. มังสวณิชชา การค้าขายสัตว์ 4. มัชชวณิชชา การค้าขายน้ำเมา 5. วิสวณิชชา การค้าขายยาพิษ
อ่านต่อมิจฉาวณิชชา 5 ประการ
ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ

ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ

ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ 1. เลี้ยงตัวเอง มารดาบิดา บุตรภรรยา และคนในปกครอง ให้เป็นสุข 2. บำรุงมิตรสหายและผู้ร่วมกิจการงานให้เป็นสุข 3. บำบัดอันตรายที่เกิดแต่เหตุต่างๆ 4. ทำพลี 5 อย่าง 5. อุปถัมภ์บำรุงสมณพราหมณ์ผู้ประพฤติดีปฏิบัติชอบ
อ่านต่อประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ
ธรรม 4 ประการ

ธรรม 4 ประการ

ธรรม ในที่นี้ หมายถึง ธรรมทั้งปวงบรรดามี จัดประเภทตามลักษณะความสัมพันธ์ที่มนุษย์พึงปฏิบัติหรือเกี่ยวข้องเป็น 4 จำพวก อันสอดคล้องกับหลักอริยสัจจ์ 4 และกิจในอริยสัจจ์ 4
อ่านต่อธรรม 4 ประการ
วัฒนมุข 6 ประการ

วัฒนมุข 6 ประการ

วัฒนมุข 6 ประการ 1. อาโรคยะ ความไม่มีโรค 2. ศีล ความประพฤติดี 3. พุทธานุมัต ศึกษาแนวทางของผู้รู้ 4. สุตะ ใฝ่เล่าเรียนหาความรู้ 5. ธัมมานุวัติ ดำเนินชีวิตโดยทางชอบธรรม 6. อลีนตา เพียรพยายามไม่ระย่อ
อ่านต่อวัฒนมุข 6 ประการ
โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ

โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 3)

โสตาปัตติยังคะ แปลว่า องค์คุณเครื่องบรรลุโสดา องค์ประกอบของการบรรลุโสดา องค์คุณที่ทำให้ถึงกระแส หมายถึง คุณสมบัติที่ทำให้เข้าถึงความเป็นพระโสดาบัน หรือ คุณสัมบัติของพระโสดาบัน มี 4 ประการ
อ่านต่อโสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 3)
โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ

โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 2)

โสตาปัตติยังคะ แปลว่า องค์คุณเครื่องบรรลุโสดา องค์ประกอบของการบรรลุโสดา องค์คุณที่ทำให้ถึงกระแส หมายถึง คุณสมบัติที่ทำให้เข้าถึงความเป็นพระโสดาบัน หรือ คุณสัมบัติของพระโสดาบัน มี 4 ประการ
อ่านต่อโสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 2)
โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ

โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 1)

โสตาปัตติยังคะ แปลว่า องค์คุณเครื่องบรรลุโสดา องค์ประกอบของการบรรลุโสดา องค์คุณที่ทำให้ถึงกระแส หมายถึง คุณสมบัติที่ทำให้เข้าถึงความเป็นพระโสดาบัน มี 4 ประการ
อ่านต่อโสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 1)
สัมปทา 4 ประการ

สัมปทา 4 ประการ

สัมปทา แปลว่า ความถึงพร้อม หมายถึง ความพรั่งพร้อมสมบูรณ์แห่งองค์ประกอบต่าง ๆ ซึ่งทำให้ทานที่บริจาคแล้วเป็นทานอันยอดเยี่ยม มีผลมาก อาจเห็นผลทันตา เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า สัมปทาคุณ
อ่านต่อสัมปทา 4 ประการ
สังเวชนียสถาน 4 ประการ

สังเวชนียสถาน 4 ประการ

สังเวชนียสถาน คือ สถานที่เป็นที่ตั้งแห่งความสังเวช สถานที่เนื่องด้วยพุทธประวัติซึ่งพุทธศาสนิกชนควรไปดูเพื่อเป็นเครื่องเตือนใจให้เกิดความไม่ประมาท จะได้เร่งขวนขวายประกอบกุศลกรรม และสำหรับผู้ศรัทธาจะได้จาริกไปชม เพื่อเพิ่มพูนปสาทะ กระทำสักการะบูชา อันจะนำให้เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
อ่านต่อสังเวชนียสถาน 4 ประการ
ราชสังคหวัตถุ 4 ประการ

ราชสังคหวัตถุ 4 ประการ

ราชสังคหวัตถุ แปลว่า สังคหวัตถุของพระราชา สังคหวัตถุของผู้ครองแผ่นดิน หมายถึง ธรรมเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจประชาชน หลักการสงเคราะห์ประชาชนของนักปกครอง มี 4 ประการ
อ่านต่อราชสังคหวัตถุ 4 ประการ