
บริษัท 4 (หมวดที่ 2)
บริษัท แปลว่า หมู่ คณะ กลุ่มชน ในที่นี้ หมายเอากลุ่มชนตามระบบสังคม ซึ่งจำแนกตามกลุ่มชนทางสังคมในชมพูทวีปในครั้งพุทธกาล แบ่งเป็น 4 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
1. ขัตติยบริษัท
ขัตติยบริษัท กลุ่มกษัตริย์ ได้แก่ พระราชาหรือพระเจ้าแผ่นดิน เป็นกลุ่มชนชั้นสูงที่ได้รับการยกย่องในฐานะผู้ปกครองแผ่นดิน มีหน้าที่ปกป้องบ้านเมืองให้ปลอดภัยจากอมิตรศัตรู และสร้างความสุขให้แก่ราษฎรในแผ่นดินที่ตนปกครอง
2. พราหมณบริษัท
พราหมณบริษัท กลุ่มพราหมณ์ ได้แก่ กลุ่มชนที่ถือกันว่าเป็นชนชั้นสูงเทียมเท่ากษัตริย์ แต่มีหน้าที่แตกต่างจากกษัตริย์ เช่น ทำพิธีกรรมต่าง ๆ สอนคัมภีร์พระเวท สอนศาสนา เป็นต้น
3. คหบดีบริษัท
คหบดีบริษัท กลุ่มคฤหบดี ได้แก่ กลุ่มชนผู้ครองเรือนและประกอบอาชีพต่าง ๆ มีเกษตรกรรม กสิกรรม พาณิชยกรรม เป็นต้น ซึ่งก็ได้แก่พ่อค้าและประชาชนทั่วไปนั่นเอง
4. สมณบริษัท
สมณบริษัท กลุ่มสมณะ หมายถึง ผู้สงบจากบาป หรือผู้ละเว้นการทำบาปทั้งปวง หมายถึงกลุ่มชนที่ออกบวชหรือถือเพศเป็นนักบวช เช่น ฤาษี พระภิกษุ และนักบวชในลัทธิต่าง ๆ
- วุฑฒิธรรม 4 ประการ
- จักร 4 ประการ
- อคติ 4 ประการ
- อันตรายของภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่ 4 ประการ
- ปธาน 4 ประการ
- อธิษฐานธรรม 4 ประการ
- อิทธิบาท 4 ประการ
- สิ่งที่ไม่ควรประมาท 4 ประการ
- ปาริสุทธิศีล 4 ประการ
- อารักขกัมมัฏฐาน 4 ประการ
- พรหมวิหาร 4 ประการ
- สติปัฏฐาน 4 ประการ
- ธาตุกัมมัฏฐาน 4 ประการ
- อริยสัจ 4 ประการ
- อบาย 4 ประเภท
- อปัสเสนธรรม 4 ประการ
- อัปปมัญญา 4 ประการ
- อริยวงศ์ 4 ประการ
- อรูป 4 ประการ
- อวิชชา 4 ประการ
- อาหาร 4 ประการ
- อุปาทาน 4 ประการ
- โอฆะ 4 ประการ
- กิจในอริยสัจ 4
- ฌาน 4 ประการ
- ทักขิณาวิสุทธิ 4 ประการ
- ธรรมสมาทาน 4 ประการ
- บริษัท 4 (หมวดที่ 1)
- บริษัท 4 (หมวดที่ 2)
- บุคคล 4 ประเภท
- ปฏิปทา 4 ประการ
- ปฏิสัมภิทา 4 ประการ
- ภูมิ 4 ประการ
- มรรค 4 ประการ
- ผล 4 ประการ
- โยนิ 4 ประการ
- วรรณะ 4 ประการ
- วิบัติ 4 ประการ (หมวดที่ 1)
- วิบัติ 4 ประการ (หมวดที่ 2)
- เวสารัชชญาณ 4 ประการ
- เจดีย์ 4 ประการ
- ถูปารหบุคคล 4 ประเภท
- ธาตุ 4 ประการ
- ปรมัตถธรรม 4 ประการ
- ประมาณ (ปมาณิก) 4 ประเภท
- ปัจจัย 4 ประการ
- นิสสัย 4 ประการ
- ปัญญาวุฒิธรรม 4 ประการ
- พร 4 ประการ
- พละ 4 ประการ
- โภควิภาค 4
- มหาปเทส 4 ประการ
- โยคะ 4 ประการ
- เทสนาวิธี 4 ประการ
- วิธีปฏิบัติต่อทุกข์และสุข 4 ประการ
- สมบัติ 4 ประการ
- วิปลาส 4 ประการ
- เทวทูต 4 ประการ
- พหุการธรรม 4 ประการ
- สัทธา (ศรัทธา) 4 ประการ
- สมชีวิธรรม 4 ประการ
- สมาธิภาวนา 4 ประการ
- สังขาร 4 ประการ
- ราชสังคหวัตถุ 4 ประการ
- สังเวชนียสถาน 4 ประการ
- สัมปทา 4 ประการ
- โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 1)
- โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 2)
- โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 3)
- ธรรม 4 ประการ
- อาจารย์ 4 ประเภท
- สัมปชัญญะ 4 ประการ
- ลักษณะของขันติ 4 ประการ
- ภาวนา 4 ประการ
- มหาภูต (ภูตรูป) 4 ประการ
- อริยบุคคล 4 ประเภท
- พระอรหันต์ 4 ประเภท
- อาสวะ 4 ประการ
- นิมิต 4 ประการ
- กรรมกิเลส 4 ประการ
- อบายมุข 4 ประการ
- ทิฏฐิธัมมิกัตถะ 4 ประการ
- สัมปรายิกัตถะ 4 ประการ
- มิตรเทียม 4 ประเภท
- มิตรแท้ 4 ประเภท
- สังคหวัตถุ 4 ประการ
- สุขของคฤหัสถ์ 4 ประการ
- ความปรารถนาที่สมหมายได้ยาก 4 ประการ
- เหตุที่ตระกูลมั่งคั่งตั้งอยู่ไม่ได้นาน 4 ประการ
- กุลจิรัฏฐิติธรรม 4 ประการ
- ฆราวาสธรรม 4 ประการ