
มัจฉริยะ 5 ประการ
มัจฉริยะ แปลว่า ความตระหนี่ หมายถึง ความหวงแหน ความคิดกีดกันไม่ให้ผู้อื่นได้ดีหรือมีส่วนร่วม เมื่อบุคคลถูกมัจฉริยะครอบงำ จะเป็นคนใจแคบ เห็นแก่ตัว มัจฉริยะนั้นมี 5 ประการ คือ
1. อาวาสมัจฉริยะ
อาวาสมัจฉริยะ ตระหนี่ที่อยู่ ไม่อยากให้คนอื่นเข้ามาอาศัยอยู่ในที่อยู่ร่วมกับตน เช่น ภิกษุหวงเสนาสนะ ไม่อยากให้ภิกษุอื่นเข้ามาอาศัยอยู่ในสถานที่เดียวกันกับตน เป็นต้น
2. กุลมัจฉริยะ
กุลมัจฉริยะ ตระหนี่ตระกูล ไม่อยากให้ผู้อื่นเข้ามาเกี่ยวข้องกับตระกูลของตนหรือตระกูลที่เกี่ยวข้องหรือมีผลประโยชน์แก่ตน เช่น ภิกษุหวงตระกูลอุปัฏฐาก ไม่อยากให้ภิกษุอื่นมาเกี่ยวข้องกับตระกูลอุปัฏฐากของตน เพราะกลัวจะเสียลาภ เป็นต้น
3. ลาภมัจฉริยะ
ลาภมัจฉริยะ ตระหนี่ลาภ หวงแหนผลประโยชน์ ไม่อยากให้ผู้อื่นได้รับลาภหรือผลประโยชน์เช่นเดียวกับตน เช่น ภิกษุหาทางกีดกันไม่ให้ลาภเกิดขึ้นแก่ภิกษุอื่น เป็นต้น
4. วัณณมัจฉริยะ
วัณณมัจฉริยะ ตระหนี่วรรณะ มีความหมายเป็น 2 นัย
นัยที่ 1 วรรณะ หมายถึง สรีรวัณณะ ความงามแห่งร่างกาย ดังนั้น วัณณมัจฉริยะ จึงหมายถึง ความคิดที่ไม่อยากให้คนอื่นมีความงามทางร่างกายเหมือนตน หรือมีเสื้อผ้าอาภรณ์ที่งดงามเหมือนตน
นัยที่ 2 วรรณะ หมายถึง คุณวัณณะ คำสรรเสริญ ดังนั้น วัณณมัจฉริยะ จึงหมายถึง ความคิดที่ไม่อยากให้คนอื่นได้รับคำสรรเสริญเยินยอเหมือนอย่างที่ตนได้รับ
5. ธัมมมัจฉริยะ
ธัมมมัจฉริยะ ตระหนี่ธรรม หมายถึง หวงวิชาความรู้ และคุณพิเศษที่ได้บรรลุ ไม่ยอมสอนไม่ยอมบอกผู้อื่น กลัวเขาจะรู้เทียมเท่าหรือเกินตน
- อนันตริยกรรม 5 ประการ
- อภิณหปัจจเวกขณ์ 5 ประการ
- เวสารัชชกรณธรรม 5 ประการ
- องค์แห่งภิกษุใหม่ (นวกภิกขุธรรม) 5 ประการ
- องค์แห่งพระธรรมกถึก (ธรรมเทสกธรรม) 5 ประการ
- ธัมมัสสวนานิสงส์ 5 ประการ
- พละ 5 ประการ
- พละ 5 ของพระมหากษัตริย์
- นิวรณ์ 5 ประการ
- ขันธ์ 5 ประการ
- อนุปุพพิกถา 5 ประการ
- กามคุณ 5 ประการ
- ปีติ 5 ประการ
- จักขุ 5 ประการ
- ธรรมขันธ์ 5 ประการ
- มัจฉริยะ 5 ประการ
- วิญญาณ 5 ประการ
- มาร 5 ประการ
- วิมุตติ 5 ประการ
- เวทนา 5 ประการ
- สังวร 5 ประการ
- สุทธาวาส 5 ชั้น
- พระอนาคามี 5 ประเภท
- พระอรหันต์ 5 ประเภท
- อุบาสกธรรม 5 ประการ
- มิจฉาวณิชชา 5 ประการ
- ศีล 5 ประการ
- ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ
- พร 5 ประการ
- เทวทูต 5 ประการ
- ธรรมสมาธิ 5 ประการ
- นิยาม 5 ประการ
- หน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ
- หน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ
- หน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ
- หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ
- หน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ
- หน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ
- แนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ
- สิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ
- สิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ
- สิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ
- กิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ
- หน้าที่ของพระสงฆ์ที่พึงปฏิบัติต่อคฤหัสถ์ 6 ประการ
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 3)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 4)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 5)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 6)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 7)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 8)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 9)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 10)
- นิโรธ 5 ประการ
- พหูสูตมีองค์ 5 ประการ
- เบญจธรรม 5 ประการ
- อริยวัฑฒิ 5 ประการ
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อินทรีย์ 5 ประการ
- คารวตา 6 ประการ
- สารณียธรรม 6 ประการ
- ปิยรูปสาตรูป
- อายตนะภายใน 6 ประการ
- อายตนะภายนอก 6 ประการ
- วิญญาณ 6 ประการ
- สัมผัส 6 ประการ
- เวทนา 6 ประการ
- สัญญา 6 ประการ
- สัญเจตนา 6 ประการ
- ตัณหา 6 ประการ
- วิตก 6 ประการ
- วิจาร 6 ประการ
- อภิญญา 6 ประการ
- อภิฐาน 6 ประการ
- จริต 6 ประการ
- ธรรมคุณ 6 ประการ
- ภัพพตาธรรม 6 ประการ
- เวปุลลธรรม 6 ประการ
- สวรรค์ 6 ชั้น
- วัฒนมุข 6 ประการ
- อนุตตริยะ 6 ประการ
- ทวาร 6 ประการ
- อบายมุข 6 ประการ
- ธาตุ 6 ประการ
- ธาตุกัมมัฏฐาน 6 ประการ
- ทิศ 6 ประการ