
ปีติ 5 ประการ
ปีติ คือ ความอิ่มใจ ความปลาบปลื้มใจ หมายเอาปีติที่เกิดจากการปฏิบัติสมถกรรมฐาน มี 5 ประการ คือ
1. ขุททกาปีติ
ขุททกาปีติ ปีติเล็กน้อย เป็นปีติที่มีกำลังเบาบาง เมื่อเกิดขึ้นมาแล้ว ส่งผลให้เกิดความเอิบอิ่มใจ มีอาการขนลุกชูชันบ้าง ทำให้น้ำตาไหลบ้าง
2. ขณิกาปีติ
ขณิกาปีติ ปีติชั่วขณะ เป็นปีติที่เกิดขึ้นและตั้งอยู่ชั่วขณะหนึ่ง ทำให้เกิดอาการเสียวแปลบๆ ไปทั่วร่าง เป็นขณะ ๆ เหมือนฟ้าแลบ
3. โอกกันติกาปีติ
โอกกันติกาปีติ ปีติเป็นระลอกหรือปีติเป็นพักๆ เป็นปีติที่เมื่อเกิดขึ้นมาแล้วสามารถตั้งอยู่ได้นานกว่าขณิกาปีติ ทำให้เกิดมีอาการซู่ซ่าเป็นระลอก ๆ เปรียบเหมือนคลื่นซัดฝั่ง บางครั้งรู้สึกซาบซ่า บางครั้งทำให้ร่างกายโยกโคลงไปมา
4. อุพเพงคาปีติ
อุพเพงคาปีติ ปีติโลดโผน หรือปีติโลดลอย เป็นปีติที่มีกำลังแรงกว่าปีติสามอย่างข้างต้นนั้น เป็นปีติที่ทำให้ใจฟูเกิดความเอิบอิ่มอย่างแรง จนถึงขั้นแสดงอาการบางอย่างโดยไม่ตั้งใจ เช่น เปล่งอุทานออกมา หรือบางครั้งก็ทำให้รู้สึกตัวเบาจนลอยขึ้นไปในอากาศ
5. ผรณาปีติ
ผรณาปีติ ปีติซาบซ่าน เมื่อเกิดขึ้นมาแล้ว ทำให้เกิดความรู้สึกเย็นซ่านเอิบอาบแผ่ไปทั่วสรรพางค์กาย
ปีติทั้ง 5 ประการนี้ จัดเป็นวิปัสสนูปกิเลส ผู้ปฏิบัติธรรมจะได้สัมผัสกับปีติเหล่านี้อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งหมด แต่ต้องไม่หลงยึดติดในปีติเหล่านี้ ต้องสละเสียให้ได้ ถ้าหากหลงยึดติดอยู่ในปีติเหล่านี้ ย่อมไม่สามารถเดินทางถึงปลายทางคือพระนิพพานได้
- อนันตริยกรรม 5 ประการ
- อภิณหปัจจเวกขณ์ 5 ประการ
- เวสารัชชกรณธรรม 5 ประการ
- องค์แห่งภิกษุใหม่ (นวกภิกขุธรรม) 5 ประการ
- องค์แห่งพระธรรมกถึก (ธรรมเทสกธรรม) 5 ประการ
- ธัมมัสสวนานิสงส์ 5 ประการ
- พละ 5 ประการ
- พละ 5 ของพระมหากษัตริย์
- นิวรณ์ 5 ประการ
- ขันธ์ 5 ประการ
- อนุปุพพิกถา 5 ประการ
- กามคุณ 5 ประการ
- ปีติ 5 ประการ
- จักขุ 5 ประการ
- ธรรมขันธ์ 5 ประการ
- มัจฉริยะ 5 ประการ
- วิญญาณ 5 ประการ
- มาร 5 ประการ
- วิมุตติ 5 ประการ
- เวทนา 5 ประการ
- สังวร 5 ประการ
- สุทธาวาส 5 ชั้น
- พระอนาคามี 5 ประเภท
- พระอรหันต์ 5 ประเภท
- อุบาสกธรรม 5 ประการ
- มิจฉาวณิชชา 5 ประการ
- ศีล 5 ประการ
- ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ
- พร 5 ประการ
- เทวทูต 5 ประการ
- ธรรมสมาธิ 5 ประการ
- นิยาม 5 ประการ
- หน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ
- หน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ
- หน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ
- หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ
- หน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ
- หน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ
- แนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ
- สิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ
- สิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ
- สิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ
- กิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ
- หน้าที่ของพระสงฆ์ที่พึงปฏิบัติต่อคฤหัสถ์ 6 ประการ
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 3)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 4)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 5)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 6)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 7)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 8)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 9)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 10)
- นิโรธ 5 ประการ
- พหูสูตมีองค์ 5 ประการ
- เบญจธรรม 5 ประการ
- อริยวัฑฒิ 5 ประการ
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อินทรีย์ 5 ประการ
- คารวตา 6 ประการ
- สารณียธรรม 6 ประการ
- ปิยรูปสาตรูป
- อายตนะภายใน 6 ประการ
- อายตนะภายนอก 6 ประการ
- วิญญาณ 6 ประการ
- สัมผัส 6 ประการ
- เวทนา 6 ประการ
- สัญญา 6 ประการ
- สัญเจตนา 6 ประการ
- ตัณหา 6 ประการ
- วิตก 6 ประการ
- วิจาร 6 ประการ
- อภิญญา 6 ประการ
- อภิฐาน 6 ประการ
- จริต 6 ประการ
- ธรรมคุณ 6 ประการ
- ภัพพตาธรรม 6 ประการ
- เวปุลลธรรม 6 ประการ
- สวรรค์ 6 ชั้น
- วัฒนมุข 6 ประการ
- อนุตตริยะ 6 ประการ
- ทวาร 6 ประการ
- อบายมุข 6 ประการ
- ธาตุ 6 ประการ
- ธาตุกัมมัฏฐาน 6 ประการ
- ทิศ 6 ประการ