หัวข้อธรรม

หลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนา ที่พุทธศาสนิกชนควรรู้และทำความเข้าใจให้ถ่องแท้ เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้เกิดประโยชน์สูงสุด

นิสสัย 4 ประการ

นิสสัย คือ เครื่องอาศัยของบรรพชิต หมายถึง สิ่งจำเป็นพื้นฐานสำหรับการดำรงชีวิตของภิกษุ บนพื้นฐานของปัจจัย 4 แต่จำกัดแคบเข้ามา เพราะภิกษุไม่ควรดำรงชีวิตเยี่ยงคฤหัสถ์
อ่านต่อนิสสัย 4 ประการ
ปัจจัย 4 ประการ

ปัจจัย 4 ประการ

ปัจจัย หมายถึง สิ่งค้ำจุนชีวิต สิ่งจำเป็นเบื้องต้นของชีวิต สิ่งที่ต้องอาศัยเลี้ยงอัตภาพ เป็นสิ่งจำเป็นขั้นพื้นฐานที่จำเป็นต้องมีสำหรับการดำรงชีวิตของมนุษย์ทั้งหลาย จำแนกเป็น 4 ประการ
อ่านต่อปัจจัย 4 ประการ
ประมาณ (ปมาณิก) 4 ประเภท

ประมาณ (ปมาณิก) 4 ประเภท

ประมาณ หรือ ปมาณิก หมายถึง บุคคลที่ถือประมาณต่าง ๆ กัน คนในโลกผู้ถือเอาคุณสมบัติต่าง ๆ กัน เป็นเครื่องวัดในการที่จะเกิดความเชื่อความเลื่อมใส มี 4 ประเภท
อ่านต่อประมาณ (ปมาณิก) 4 ประเภท
ปรมัตถธรรม 4 ประการ

ปรมัตถธรรม 4 ประการ

ปรมัตถธรรม คือ สภาวะที่มีอยู่โดยปรมัตถ์ สิ่งที่เป็นจริงโดยความหมายสูงสุด สภาพธรรมตามความเป็นจริง เป็นสภาพธรรมที่เป็นไปตามเหตุปัจจัย มี 4 ประการ
อ่านต่อปรมัตถธรรม 4 ประการ
ธาตุกัมมัฏฐาน 6 ประการ

ธาตุกัมมัฏฐาน 6 ประการ

ธาตุกัมมัฏฐาน 6 ประการ 1. ปฐวีธาตุ ธาตุที่มีลักษณะแข้นแข็ง 2. อาโปธาตุ ธาตุที่มีลักษณะเอิบอาบ 3. เตโชธาตุ ธาตุที่มีลักษณะร้อน 4. วาโยธาตุ ธาตุที่มีลักษณะพัดไปมา 5. อากาสธาตุ ธาตุที่มีลักษณะเป็นช่องว่าง 6. วิญญาณธาตุ ธาตุที่มีลักษณะเป็นเครื่องรู้แจ้งอารมณ์
อ่านต่อธาตุกัมมัฏฐาน 6 ประการ
ธาตุ 4 ประการ

ธาตุ 4 ประการ

ธาตุ คือ สิ่งที่ทรงสภาวะของตนอยู่เอง คือมีอยู่โดยธรรมดา เป็นไปตามเหตุปัจจัย ไม่มีผู้สร้าง ไม่มีอัตตา มิใช่สัตว์ มิใช่ชีวะ มี 4 ประการ
อ่านต่อธาตุ 4 ประการ
เจดีย์ 4 ประการ

เจดีย์ 4 ประการ

เจดีย์ คือ สิ่งที่เคารพบูชา สิ่งที่เตือนใจให้ระลึกถึง หรือสิ่งที่ก่อขึ้นเป็นที่เคารพ ในที่นี้หมายถึง สถานที่หรือสิ่งที่เคารพบูชาอันเนื่องด้วยพระพุทธเจ้า หรือเกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนา เรียกเต็ม ๆ ว่า สัมมาสัมพุทธเจดีย์ หรือ พุทธเจดีย์
อ่านต่อเจดีย์ 4 ประการ
เวสารัชชญาณ 4 ประการ

เวสารัชชญาณ 4 ประการ

เวสารัชชะ หรือ เวสารัชชญาณ หมายถึง ความไม่ครั่นคร้าม ความแกล้วกล้าอาจหาญ ได้แก่ พระญาณอันเป็นเหตุให้ทรงแกล้วกล้าอาจหาญไม่ครั่นคร้าม ของพระพุทธเจ้า พระองค์ไม่ทรงกลัวว่าใครจะมาทักท้วงพระองค์ใน 4 เรื่อง
อ่านต่อเวสารัชชญาณ 4 ประการ
วิบัติ 4 ประการ

วิบัติ 4 ประการ (หมวดที่ 2)

วิบัติ แปลว่า ข้อเสีย จุดอ่อน ความบกพร่องแห่งองค์ประกอบต่างๆ ซึ่งไม่อำนวยแก่การให้ผลของกรรมดี แต่เปิดช่องให้กรรมชั่วแสดงผล ส่วนประกอบบกพร่อง เปิดช่องให้กรรมชั่ว
อ่านต่อวิบัติ 4 ประการ (หมวดที่ 2)
ผล 4 ประการ

ผล 4 ประการ

ผล ในที่นี้ หมายถึง ผลที่เกิดสืบเนื่องจากการละกิเลสได้ด้วยมรรค ธรรมารมณ์อันพระอริยะพึงเสวย ที่เป็นผลเกิดเองในเมื่อกิเลสสิ้นไปด้วยอำนาจมรรคนั้นๆ บางที่เรียกว่า สามัญญผล คือผลแห่งการบำเพ็ญสมณธรรม
อ่านต่อผล 4 ประการ
มรรค 4 ประการ

มรรค 4 ประการ

มรรค แปลว่า หนทาง ในที่นี้หมายถึง ทางเข้าถึงความเป็นอริยบุคคล ได้แก่ ญาณที่ทำให้ละสังโยชน์ได้ขาด แบ่งเป็น 4 ระดับ ตามความสามารถละสังโยชน์ได้มากน้อยกว่ากัน
อ่านต่อมรรค 4 ประการ
ปฏิสัมภิทา 4 ประการ

ปฏิสัมภิทา 4 ประการ

ปฏิสัมภิทา คือ ปัญญาอันแตกฉาน ความรู้อันแตกฉาน เป็นคุณสมบัติพิเศษของพระอรหันต์ประเภท ปฏิสัมภิทัปปัตโต คือ พระอรหันต์ผู้ได้ปฏิสัมภิทา 4 ประการ
อ่านต่อปฏิสัมภิทา 4 ประการ
ปฏิปทา 4 ประการ

ปฏิปทา 4 ประการ

ปฏิปทา หมายถึง แนวปฏิบัติ ทางดำเนิน การปฏิบัติที่เป็นทางดำเนินให้ถึงจุดหมายคือความหลุดพ้นหรือความสิ้นอาสวะ จำแนกตามความยากลำบากของการปฏิบัติและความช้าเร็วของการบรรลุเป้าหมาย
อ่านต่อปฏิปทา 4 ประการ