
วิบัติ 4 ประการ
วิบัติ แปลว่า ความผิดพลาด ความบกพร่อง ความเสียหาย หมายถึง ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นแก่ภิกษุ ทำให้เกิดความเสื่อมเสีย มี 4 ประการ คือ
1. สีลวิบัติ
สีลวิบัติ วิบัติแห่งศีล หมายถึง การเสียศีล ความเสียหายอันเกิดจากการละเมิดศีล สำหรับภิกษุคือการต้องครุกาบัติ คือ ปาราชิก และสังฆาทิเสส
เมื่อต้องอาบัติปาราชิกเข้าแล้ว ต้องขาดจากความเป็นภิกษุ และไม่สามารถกลับเข้ามาบวชเป็นภิกษุในพุทธศาสนาได้อีก เมื่อต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว ต้องอยู่ปริวาสและประพฤติมานัตต์ จึงจะพ้นได้
2. อาจารวิบัติ
อาจารวิบัติ วิบัติแห่งอาจาระ หมายถึง เสียความประพฤติ จรรยามารยาทไม่ดี สำหรับภิกษุ คือการต้องลหุกาบัติ ตั้งแต่ถุลลัจจัยจนถึงทุพภาษิต เป็นเหตุให้เสียความประพฤติ ไม่เป็นที่น่าเลื่อมใสศรัทธาของผู้พบเห็น
3. ทิฏฐิวิบัติ
ทิฏฐิวิบัติ วิบัติแห่งทิฏฐิ หมายถึง มีความเห็นคลาดเคลื่อนจากทำนองคลองธรรม มีความเห็นคลาดเคลื่อนจากพระธรรมวินัย ทิฏฐิวิบัตินี้จะเป็นเหตุนำไปสู่ความฉิบหายได้
4. อาชีววิบัติ
อาชีววิบัติ วิบัติแห่งอาชีวะ หมายถึง ความเสียหายอันเกิดจากการหาเลี้ยงชีพ การประกอบมิจฉาชีพ การเลี้ยงชีพในทางที่ผิด มิชอบด้วยธรรมวินัย ที่เรียกว่า อเนสนา
วิบัติทั้ง 4 ประการนี้ ไม่ใช่มีผลเฉพาะแก่ภิกษุเท่านั้น แม้คฤหัสถ์ผู้ดำเนินตามวิบัติทั้ง 4 ประการนี้ ก็ย่อมพบกับความเสื่อมเช่นกัน
- วุฑฒิธรรม 4 ประการ
- จักร 4 ประการ
- อคติ 4 ประการ
- อันตรายของภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่ 4 ประการ
- ปธาน 4 ประการ
- อธิษฐานธรรม 4 ประการ
- อิทธิบาท 4 ประการ
- สิ่งที่ไม่ควรประมาท 4 ประการ
- ปาริสุทธิศีล 4 ประการ
- อารักขกัมมัฏฐาน 4 ประการ
- พรหมวิหาร 4 ประการ
- สติปัฏฐาน 4 ประการ
- ธาตุกัมมัฏฐาน 4 ประการ
- อริยสัจ 4 ประการ
- อบาย 4 ประเภท
- อปัสเสนธรรม 4 ประการ
- อัปปมัญญา 4 ประการ
- อริยวงศ์ 4 ประการ
- อรูป 4 ประการ
- อวิชชา 4 ประการ
- อาหาร 4 ประการ
- อุปาทาน 4 ประการ
- โอฆะ 4 ประการ
- กิจในอริยสัจ 4
- ฌาน 4 ประการ
- ทักขิณาวิสุทธิ 4 ประการ
- ธรรมสมาทาน 4 ประการ
- บริษัท 4 (หมวดที่ 1)
- บริษัท 4 (หมวดที่ 2)
- บุคคล 4 ประเภท
- ปฏิปทา 4 ประการ
- ปฏิสัมภิทา 4 ประการ
- ภูมิ 4 ประการ
- มรรค 4 ประการ
- ผล 4 ประการ
- โยนิ 4 ประการ
- วรรณะ 4 ประการ
- วิบัติ 4 ประการ (หมวดที่ 1)
- วิบัติ 4 ประการ (หมวดที่ 2)
- เวสารัชชญาณ 4 ประการ
- เจดีย์ 4 ประการ
- ถูปารหบุคคล 4 ประเภท
- ธาตุ 4 ประการ
- ปรมัตถธรรม 4 ประการ
- ประมาณ (ปมาณิก) 4 ประเภท
- ปัจจัย 4 ประการ
- นิสสัย 4 ประการ
- ปัญญาวุฒิธรรม 4 ประการ
- พร 4 ประการ
- พละ 4 ประการ
- โภควิภาค 4
- มหาปเทส 4 ประการ
- โยคะ 4 ประการ
- เทสนาวิธี 4 ประการ
- วิธีปฏิบัติต่อทุกข์และสุข 4 ประการ
- สมบัติ 4 ประการ
- วิปลาส 4 ประการ
- เทวทูต 4 ประการ
- พหุการธรรม 4 ประการ
- สัทธา (ศรัทธา) 4 ประการ
- สมชีวิธรรม 4 ประการ
- สมาธิภาวนา 4 ประการ
- สังขาร 4 ประการ
- ราชสังคหวัตถุ 4 ประการ
- สังเวชนียสถาน 4 ประการ
- สัมปทา 4 ประการ
- โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 1)
- โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 2)
- โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 3)
- ธรรม 4 ประการ
- อาจารย์ 4 ประเภท
- สัมปชัญญะ 4 ประการ
- ลักษณะของขันติ 4 ประการ
- ภาวนา 4 ประการ
- มหาภูต (ภูตรูป) 4 ประการ
- อริยบุคคล 4 ประเภท
- พระอรหันต์ 4 ประเภท
- อาสวะ 4 ประการ
- นิมิต 4 ประการ
- กรรมกิเลส 4 ประการ
- อบายมุข 4 ประการ
- ทิฏฐิธัมมิกัตถะ 4 ประการ
- สัมปรายิกัตถะ 4 ประการ
- มิตรเทียม 4 ประเภท
- มิตรแท้ 4 ประเภท
- สังคหวัตถุ 4 ประการ
- สุขของคฤหัสถ์ 4 ประการ
- ความปรารถนาที่สมหมายได้ยาก 4 ประการ
- เหตุที่ตระกูลมั่งคั่งตั้งอยู่ไม่ได้นาน 4 ประการ
- กุลจิรัฏฐิติธรรม 4 ประการ
- ฆราวาสธรรม 4 ประการ