หัวข้อธรรม

หลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนา ที่พุทธศาสนิกชนควรรู้และทำความเข้าใจให้ถ่องแท้ เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้เกิดประโยชน์สูงสุด

เหตุที่ตระกูลมั่งคั่งตั้งอยู่ไม่ได้นาน 4 ประการ

เหตุที่ตระกูลมั่งคั่งตั้งอยู่ไม่ได้นาน 4 ประการ

พระพุทธเจ้าทรงแสดงเหตุ 4 ประการ ที่ทำให้ตระกูลที่ร่ำรวยต้องพบกับความพินาศหรือพบกับความยากจน เป็นธรรมสำหรับเตือนสติผู้ครองเรือน เพื่อให้หลีกเลี่ยงการกระทำ 4 อย่างนี้ จะได้รักษาตระกูลเอาไว้ได้ ไม่ต้องพบกับความพินาศย่อยยับ
อ่านต่อเหตุที่ตระกูลมั่งคั่งตั้งอยู่ไม่ได้นาน 4 ประการ
ความปรารถนาที่สมหมายได้ยาก 4 ประการ

ความปรารถนาที่สมหมายได้ยาก 4 ประการ

ชาวโลกทั้งปวงต้องการมีทรัพย์สมบัติจำนวนมาก จึงพากันดิ้นรนเพื่อแสวงหาทรัพย์ ต้องทำงานทำการ ประกอบธุรกิจต่าง ๆ นานา เพื่อให้ได้ทรัพย์สินมา คนจนก็ต้องการมีฐานะร่ำรวย แม้แต่คนที่รวยอยู่แล้วก็ยังต้องการร่ำรวยยิ่งขึ้นไปอีก
อ่านต่อความปรารถนาที่สมหมายได้ยาก 4 ประการ
สุขของคฤหัสถ์ 4 ประการ

สุขของคฤหัสถ์ 4 ประการ

สุขของคฤหัสถ์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า คิหิสุข หรือ กามโภคีสุข หมายถึง ความสุขของชาวบ้าน ความสุขระดับชาวบ้าน ความสุขระดับของผู้ครองเรือน เป็นความสุขที่อยู่ในระดับโลกิยสุข เป็นความสุขอันชอบธรรมที่ผู้ครองเรือนทั่วไปควรมี ท่านจำแนกไว้ 4 ประการ
อ่านต่อสุขของคฤหัสถ์ 4 ประการ
สันโดษ 3 ประการ

สันโดษ 3 ประการ

สันโดษ แปลว่า ความยินดี ความพอใจ หมายถึง ความยินดีพอใจด้วยของของตนเท่าที่มี เท่าที่พอดีแก่กำลัง หรือเท่าที่สมควร เป็นหลักธรรมเพื่อการดำรงชีวิตด้วยความรู้จักพอ ป้องกันการดิ้นรนจนเกินกำลัง หรือการแสวงหาที่ผิดทาง มี 3 ประการ
อ่านต่อสันโดษ 3 ประการ
เวทนา 6 ประการ

เวทนา 6 ประการ

เวทนา 6 ประการ 1. จักขุสัมผัสสชาเวทนา เวทนาที่เกิดจากการสัมผัสทางตา 2. โสตสัมผัสสชาเวทนา เวทนาที่เกิดจากการสัมผัสทางหู 3. ฆานสัมผัสสชาเวทนา เวทนาที่เกิดจากการสัมผัสทางจมูก 4. ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา เวทนาที่เกิดจากการสัมผัสทางลิ้น 5. กายสัมผัสสชาเวทนา เวทนาที่เกิดจากการสัมผัสทางกาย 6. มโนสัมผัสสชาเวทนา เวทนาที่เกิดจากการผัสผัสทางใจ
อ่านต่อเวทนา 6 ประการ
ลัทธินอกพระพุทธศาสนา 3 ประเภท

ลัทธินอกพระพุทธศาสนา 3 ประเภท

ลัทธินอกพระพุทธศาสนา เรียกว่า ติตถายตนะ แปลว่า แดนเกิดแห่งลัทธิ ชุมนุมหรือประมวลแห่งลัทธิ เป็นลัทธิที่มีความเห็นตรงกันข้ามหรือขัดแย้งกับพระพุทธศาสนา แบ่งตามลักษณะความเชื่อเป็น 3 ประเภท
อ่านต่อลัทธินอกพระพุทธศาสนา 3 ประเภท
ปาปณิกธรรม 3 ประการ

ปาปณิกธรรม 3 ประการ

จักขุมา ตาดี คือ ต้องดูของเป็น รู้จักสินค้า รู้จักคุณภาพของสินค้า สามารถคำนวณราคา กะทุนเก็งกำไรได้แม่นยำ วางแผนได้ว่า เมื่อซื้อสินค้านั้น ๆ ไปขายต่อ จะต้องซื้อในราคาเท่าไหร่ แล้วเอาไปขายในราคาเท่าไหร่ จึงจะมีกำไร ไม่ขาดทุน
อ่านต่อปาปณิกธรรม 3 ประการ
ปปัญจะ 3 ประการ

ปปัญจะ 3 ประการ

ปปัญจะ หรือ ปปัญจธรรม คือ กิเลสเป็นเครื่องเนิ่นช้า หมายถึง กิเลสที่เป็นตัวการทำให้คิดปรุงแต่งยืดเยื้อพิสดาร ทำให้เขว หลงทาง ห่างจากความจริง เป็นตัวขัดขวางการบรรลุธรรม ทำให้บรรลุธรรมได้ช้า มี 3 ประการ
อ่านต่อปปัญจะ 3 ประการ
บุตร 3 ประเภท

บุตร 3 ประเภท

อภิชาตบุตร หรือ อติชาตบุตร บุตรที่ยิ่งกว่าบิดามารดา หมายถึง ลูกที่ดีกว่าเลิศกว่าพ่อแม่ คือมีคุณธรรมสูงกว่าพ่อแม่ เช่น พ่อแม่เป็นมิจฉาทิฏฐิ ไม่ดำรงตนอยู่ในศีลธรรม แต่ลูกเป็นสัมมาทิฏฐิ ดำรงตนอยู่ในศีลธรรม เป็นต้น
อ่านต่อบุตร 3 ประเภท
เทวทูต 3 ประการ

เทวทูต 3 ประการ

เทวทูต คือ ทูตของยมเทพ หรือ สื่อแจ้งข่าวของมฤตยู หมายถึง สิ่งที่เป็นสัญญาณเตือนให้ระลึกถึงคติธรรมดาของชีวิตอันมีความตายเป็นที่สุด เพื่อจะได้เกิดความสลดสังเวชและไม่ประมาท จะได้เร่งขวนขวายทำความดี จำแนกเป็น 3 ประเภทบ้าง 4 ประเภทบ้าง 5 ประเภทบ้าง
อ่านต่อเทวทูต 3 ประการ