หัวข้อธรรม

หลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนา ที่พุทธศาสนิกชนควรรู้และทำความเข้าใจให้ถ่องแท้ เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้เกิดประโยชน์สูงสุด

อาวาสิกธรรม 5 ประการ

อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 8)

อาวาสิกธรรม คือ ธรรมของภิกษุผู้อยู่ประจำวัด แปลถือความมาใช้ให้เหมาะกับปัจจุบันว่า คุณสมบัติของเจ้าอาวาส หมวดที่ 8 ประเภทมีความสุขความเจริญดุจได้รับเชิญขึ้นไปอยู่ในสวรรค์ อีกหมวดหนึ่ง มี 5 ประการ
อ่านต่ออาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 8)
อาวาสิกธรรม 5 ประการ

อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 7)

อาวาสิกธรรม คือ ธรรมของภิกษุผู้อยู่ประจำวัด แปลถือความมาใช้ให้เหมาะกับปัจจุบันว่า คุณสมบัติของเจ้าอาวาส หมวดที่ 7 ประเภทมีความสุขความเจริญดุจได้รับเชิญขึ้นไปอยู่ในสวรรค์ อีกหมวดหนึ่ง มี 5 ประการ
อ่านต่ออาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 7)
อาวาสิกธรรม 5 ประการ

อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 6)

อาวาสิกธรรม คือ ธรรมของภิกษุผู้อยู่ประจำวัด แปลถือความมาใช้ให้เหมาะกับปัจจุบันว่า คุณสมบัติของเจ้าอาวาส หมวดที่ 6 ประเภทมีความสุขความเจริญดุจได้รับเชิญขึ้นไปอยู่ในสวรรค์ มี 5 ประการ
อ่านต่ออาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 6)
อาวาสิกธรรม 5 ประการ

อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 5)

อาวาสิกธรรม คือ ธรรมของภิกษุผู้อยู่ประจำวัด แปลถือความมาใช้ให้เหมาะกับปัจจุบันว่า คุณสมบัติของเจ้าอาวาส หมวดที่ 5 ประเภทอนุเคราะห์คฤหัสถ์ มี 5 ประการ
อ่านต่ออาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 5)
อาวาสิกธรรม 5 ประการ

อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 4)

อาวาสิกธรรม คือ ธรรมของภิกษุผู้อยู่ประจำวัด แปลถือความมาใช้ให้เหมาะกับปัจจุบันว่า คุณสมบัติของเจ้าอาวาส หมวดที่ 4 ประเภทมีอุปการะมากแก่วัด มี 5 ประการ
อ่านต่ออาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 4)
อาวาสิกธรรม 5 ประการ

อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 3)

อาวาสิกธรรม คือ ธรรมของภิกษุผู้อยู่ประจำวัด แปลถือความมาใช้ให้เหมาะกับปัจจุบันว่า คุณสมบัติของเจ้าอาวาส หมวดที่ 3 ประเภทอาวาสโสภณคือทำวัดให้งาม มี 5 ประการ
อ่านต่ออาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 3)
อาวาสิกธรรม 5 ประการ

อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)

อาวาสิกธรรม คือ ธรรมของภิกษุผู้อยู่ประจำวัด แปลถือความมาใช้ให้เหมาะกับปัจจุบันว่า คุณสมบัติของเจ้าอาวาส หมวดที่ 2 ประเภทเป็นที่รักที่เคารพของสพรหมจารี คือ เพื่อนภิกษุสามเณรผู้ประพฤติพรหมจรรย์ร่วมกัน มี 5 ประการ
อ่านต่ออาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
อาวาสิกธรรม 5 ประการ

อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)

อาวาสิกธรรม คือ ธรรมของภิกษุผู้อยู่ประจำวัด แปลถือความมาใช้ให้เหมาะกับปัจจุบันว่า คุณสมบัติของเจ้าอาวาส หมวดที่ 1 ประเภทที่น่ายกย่อง หรือเป็นที่ชื่นชูเจริญใจ มี 5 ประการ
อ่านต่ออาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
อายุวัฒนธรรม 5 ประการ

อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)

อายุสสธรรม หรือ อายุวัฒนธรรม คือ ธรรมที่เกื้อกูลแก่อายุ หรือธรรมที่ส่งเสริมสุขภาพ ธรรมที่ช่วยให้อายุยืน เป็นหลักธรรมสำหรับยึดปฏิบัติเพื่อความมีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง มีโรคภัยไข้เจ็บน้อย และมีอายุยืนยาว มี 5 ประการ
อ่านต่ออายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
อายุวัฒนธรรม 5 ประการ

อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)

อายุสสธรรม หรือ อายุวัฒนธรรม คือ ธรรมที่เกื้อกูลแก่อายุ หรือธรรมที่ส่งเสริมสุขภาพ ธรรมที่ช่วยให้อายุยืน เป็นหลักธรรมสำหรับยึดปฏิบัติเพื่อความมีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง มีโรคภัยไข้เจ็บน้อย และมีอายุยืนยาว มี 5 ประการ
อ่านต่ออายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
อริยวัฑฒิ 5 ประการ

อริยวัฑฒิ 5 ประการ

อริยวัฑฒิ หรือ อารยวัฒิ แปลว่า ความเจริญอย่างประเสริฐ หรือ หลักความเจริญของอารยชน เป็นหลักธรรมที่นำไปสู่ความเจริญอันประเสริฐ หรือแสดงถึงความเจริญงอกงามอย่างอารยชน มี 5 ประการ
อ่านต่ออริยวัฑฒิ 5 ประการ
ปัพพชิตอภิณหปัจจเวกขณ์ 10 ประการ

ปัพพชิตอภิณหปัจจเวกขณ์ 10 ประการ

ปัพพชิตอภิณหปัจจเวกขณ์ คือ ธรรมที่บรรพชิตควรพิจารณาเนือง ๆ หรือนึกถึงอยู่เสมอ เพื่อเตือนใจตนเองให้เป็นผู้มีความประพฤติดีปฏิบัติชอบ เป็นเครื่องป้องกันความประมาท เร่งสร้างกุศลบุญบารมี และละเว้นจากการประพฤติชั่วอันจะเป็นเครื่องพาตัวให้ตกต่ำ
อ่านต่อปัพพชิตอภิณหปัจจเวกขณ์ 10 ประการ
ศีล 10 ประการ

ศีล 10 ประการ

ศีล แปลว่า ปกติ หมายถึง ข้อปฏิบัติเพื่อรักษาความประพฤติทางกายและทางวาจาให้เป็นปกติและเรียบร้อยดีงาม ศีล 10 เป็นศีลที่มีความเข้มงวดเพิ่มขึ้นจากศีล 8 เป็นศีลสำหรับสามเณรสมาทานรักษา
อ่านต่อศีล 10 ประการ
อาชีวัฏฐมกศีล 8 ประการ

อาชีวัฏฐมกศีล 8 ประการ

ศีล 8 ทั้งอาชีวะ หรือ อาชีวัฏฐมกศีล คือ ศีลมีอาชีวะเป็นคำรบ 8, หลักความประพฤติรวมทั้งอาชีวะที่บริสุทธิ์ด้วยเป็นข้อที่ 8 เป็นศีลส่วนอาทิพรหมจรรย์ คือ เป็นหลักความประพฤติเบื้องต้นของพรหมจรรย์ กล่าวคือ มรรค เป็นสิ่งที่ต้องประพฤติให้บริสุทธิ์ในขั้นต้นของการดำเนินตามอริยอัฏฐังคิกมรรค ว่าโดยสาระ อาชีวัฏฐมกศีล ก็คือ องค์มรรค 3 ข้อ ในหมวดศีล คือข้อที่ 3, 4, 5 ได้แก่ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และ สัมมาอาชีวะ นั่นเอง
อ่านต่ออาชีวัฏฐมกศีล 8 ประการ
ศีล 8 ประการ

ศีล 8 ประการ

ศีล แปลว่า ปกติ หมายถึง ข้อปฏิบัติเพื่อรักษาความประพฤติทางกายและทางวาจาให้เป็นปกติและเรียบร้อยดีงาม ศีล 8 เป็นศีลที่มีความเข้มงวดเพิ่มขึ้นจากศีล 5 เป็นศีลสำหรับสมาทานรักษาในกรณีพิเศษเช่นวันอุโบสถ ที่เรียกว่า อุโบสถศีล หรือเป็นศีลสำหรับอุบาสิกาผู้ถือบวชเป็นแม่ชีสมาทานรักษา
อ่านต่อศีล 8 ประการ
เบญจธรรม 5 ประการ

เบญจธรรม 5 ประการ

เบญจธรรม แปลว่า ธรรม 5 ประการ หมายถึง ธรรมอันดีงามห้าอย่าง หรือคุณธรรมห้าประการ เป็นหลักธรรมที่ใช้ร่วมกับเบญจศีล เป็นธรรมที่เกื้อกูลแก่การรักษาศีลห้า เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เบญจกัลยาณธรรม
อ่านต่อเบญจธรรม 5 ประการ
พละ 5 ของพระมหากษัตริย์

พละ 5 ของพระมหากษัตริย์

พละ 5 ของพระมหากษัตริย์ 1. พาหาพละ หรือ กายพละ กำลังแขน หรือ กำลังกาย 2. โภคพละ กำลังโภคสมบัติ 3. อมัจจพละ กำลังอำมาตย์ 4. อภิชัจจพละ กำลังความมีชาติสูง 5. ปัญญาพละ กำลังปัญญา
อ่านต่อพละ 5 ของพระมหากษัตริย์