
วิญญาณ 6 ประการ
วิญญาณ แปลว่า ความรู้แจ้ง หมายถึง ความรู้แจ้งอารมณ์อันได้แก่อายตนะภายนอก 6 ประการ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ คือเมื่ออายตนะภายในกับอายตนะภายนอกกระทบกัน ย่อมเกิดความรู้เฉพาะด้านขึ้นมา เช่น เมื่อตากระทบรูป ย่อมเกิดความรู้ทางตาขึ้นมา เรียกว่า เห็น เป็นต้น ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการกระทบกันของอายตนะภายในกับอายตนะภายนอกนี้ เรียกว่า วิญญาณ มี 6 ประการ เท่ากับอายตนะภายในและอายตนะภายนอก คือ
1. จักขุวิญญาณ
จักขุวิญญาณ ความรู้แจ้งอารมณ์ทางตา คือ รู้รูปด้วยตา เกิดจากอายตนะภายในคือ จักขุ (ตา) กระทบกับอายตนะภายนอก คือ รูปะ (รูป)
2. โสตวิญญาณ
โสตวิญญาณ ความรู้แจ้งอารมณ์ทางหู คือ รู้เสียงด้วยหู เกิดจากอายตนะภายในคือ โสตะ (หู) กระทบกับอายตนะภายนอก คือ สัททะ (เสียง)
3. ฆานวิญญาณ
ฆานวิญญาณ ความรู้แจ้งอารมณ์ทางจมูก คือ รู้กลิ่นด้วยจมูก เกิดจากอายตนะภายในคือ ฆานะ (จมูก) กระทบกับอายตนะภายนอก คือ คันธะ (กลิ่น)
4. ชิวหาวิญญาณ
ชิวหาวิญญาณ ความรู้แจ้งอารมณ์ทางลิ้น คือ รู้รสด้วยลิ้น เกิดจากอายตนะภายในคือ ชิวหา (ลิ้น) กระทบกับอายตนะภายนอก คือ รสะ (รส)
5. กายวิญญาณ
กายวิญญาณ ความรู้แจ้งอารมณ์ทางกาย คือ รู้โผฏฐัพพะด้วยกาย เกิดจากอายตนะภายในคือ กายะ (กาย) กระทบกับอายตนะภายนอก คือ โผฏฐัพพะ (สัมผัส)
6. มโนวิญญาณ
มโนวิญญาณ ความรู้แจ้งอารมณ์ทางใจ คือ รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ เกิดจากอายตนะภายในคือ มโน (ใจ) กระทบกับอายตนะภายนอก คือ ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่เกิดทางใจ)
วิญญาณนี้มีเพียงหนึ่งเดียว คือ วิญญาณธาตุ แต่แบ่งเป็น 6 เพราะแบ่งตามทางที่ทำให้เกิดคืออายตนะนั่นเอง
- อนันตริยกรรม 5 ประการ
- อภิณหปัจจเวกขณ์ 5 ประการ
- เวสารัชชกรณธรรม 5 ประการ
- องค์แห่งภิกษุใหม่ (นวกภิกขุธรรม) 5 ประการ
- องค์แห่งพระธรรมกถึก (ธรรมเทสกธรรม) 5 ประการ
- ธัมมัสสวนานิสงส์ 5 ประการ
- พละ 5 ประการ
- พละ 5 ของพระมหากษัตริย์
- นิวรณ์ 5 ประการ
- ขันธ์ 5 ประการ
- อนุปุพพิกถา 5 ประการ
- กามคุณ 5 ประการ
- ปีติ 5 ประการ
- จักขุ 5 ประการ
- ธรรมขันธ์ 5 ประการ
- มัจฉริยะ 5 ประการ
- วิญญาณ 5 ประการ
- มาร 5 ประการ
- วิมุตติ 5 ประการ
- เวทนา 5 ประการ
- สังวร 5 ประการ
- สุทธาวาส 5 ชั้น
- พระอนาคามี 5 ประเภท
- พระอรหันต์ 5 ประเภท
- อุบาสกธรรม 5 ประการ
- มิจฉาวณิชชา 5 ประการ
- ศีล 5 ประการ
- ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ
- พร 5 ประการ
- เทวทูต 5 ประการ
- ธรรมสมาธิ 5 ประการ
- นิยาม 5 ประการ
- หน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ
- หน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ
- หน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ
- หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ
- หน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ
- หน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ
- แนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ
- สิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ
- สิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ
- สิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ
- กิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ
- หน้าที่ของพระสงฆ์ที่พึงปฏิบัติต่อคฤหัสถ์ 6 ประการ
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 3)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 4)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 5)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 6)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 7)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 8)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 9)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 10)
- นิโรธ 5 ประการ
- พหูสูตมีองค์ 5 ประการ
- เบญจธรรม 5 ประการ
- อริยวัฑฒิ 5 ประการ
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อินทรีย์ 5 ประการ
- คารวตา 6 ประการ
- สารณียธรรม 6 ประการ
- ปิยรูปสาตรูป
- อายตนะภายใน 6 ประการ
- อายตนะภายนอก 6 ประการ
- วิญญาณ 6 ประการ
- สัมผัส 6 ประการ
- เวทนา 6 ประการ
- สัญญา 6 ประการ
- สัญเจตนา 6 ประการ
- ตัณหา 6 ประการ
- วิตก 6 ประการ
- วิจาร 6 ประการ
- อภิญญา 6 ประการ
- อภิฐาน 6 ประการ
- จริต 6 ประการ
- ธรรมคุณ 6 ประการ
- ภัพพตาธรรม 6 ประการ
- เวปุลลธรรม 6 ประการ
- สวรรค์ 6 ชั้น
- วัฒนมุข 6 ประการ
- อนุตตริยะ 6 ประการ
- ทวาร 6 ประการ
- อบายมุข 6 ประการ
- ธาตุ 6 ประการ
- ธาตุกัมมัฏฐาน 6 ประการ
- ทิศ 6 ประการ