
ธรรม 2 ประการ
ธรรม คือ สภาวะหรือปรากฏการณ์ที่มีอยู่จริงตามธรรมชาติ เมื่อกำหนดด้วยความแตกต่างของธรรมที่เป็นรูปและนาม จะแยกเป็น 2 อย่าง คือ
1. รูปธรรม
รูปธรรม คือ สภาวะอันเป็นรูป สิ่งที่เป็นรูป ได้แก่ สภาวะที่สามารถรับรู้ได้ด้วยประสาททั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ซึ่งก็ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ซึ่งก็คือรูปขันธ์ทั้งหมดนั่นเอง
2. อรูปธรรม
อรูปธรรม คือ สภาวะอันมิใช่รูป สิ่งที่ไม่มีรูป หมายเอาสิ่งที่ไม่สามารถรับรู้ได้ด้วยประสาททั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น และกาย แต่สามารถรับรู้ได้ด้วยใจ เช่น ความโกรธ ความเกลียด ความรัก ความหงุดหงิด เป็นต้น หมายเอานามขันธ์ 4 คือ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ รวมไปถึงพระนิพพาน
- ธรรมมีอุปการะมาก 2 ประการ
- ธรรมอันทำให้งาม 2 ประการ
- อริยบุคคล 2 ประเภท
- กาม 2 อย่าง
- เทศนา 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- เทศนา 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ธรรม 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- ธรรม 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ธรรม 2 ประการ (หมวดที่ 3)
- ธรรม 2 ประการ (หมวดที่ 4)
- สมาธิ 2 ประการ
- สุข 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- สุข 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ทุกข์ 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- ทุกข์ 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ทาน 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- ทาน 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ปธาน 2 ประการ
- ภาวนา 2 ประการ
- เวปุลละ 2 ประการ
- สัจจะ 2 ประการ
- พระอรหันต์ 2 ประเภท
- อุปัญญาตธรรม 2 ประการ
- ธรรมคุ้มครองโลก 2 ประการ
- สัทธา (ศรัทธา) 2 ประการ
- บุคคลหาได้ยาก 2 ประเภท
- กรรมฐาน 2 ประเภท
- ทิฏฐิ 2 ประการ
- นิพพาน 2 ประการ
- บูชา 2 ประการ
- ปฏิสันถาร 2 ประการ
- ปริเยสนา 2 ประการ
- ปาพจน์ 2 ประการ
- รูป 2 ประการ
- วิมุตติ 2 ประการ
- สังขาร 2 ประการ
- สุทธิ 2 ประการ
- กรรม 2 ประการ
- อันตา 2 ประการ
- ธุระ 2 ประการ
- บัญญัติ 2 ประการ
- ปัจจัยให้เกิดสัมมาทิฏฐิ 2 ประการ
- ฤทธิ์ 2 ประการ
- สังคหะ 2 ประการ
- ศาสนา 2 ประการ
- อัตถะ 2 ประการ
- เวทนา 2 ประการ
- ฌาน 2 ประเภท
- ฌาน 2 ประการ