ปุคคลวรรค หมวดบุคคล

พุทธศาสนสุภาษิตหมวดบุคคล หลักธรรมคำสอนที่กล่าวถึงบุคคลประเภทต่าง ๆ และหลักปฏิบัติสำหรับบุคคลประเภทนั้น ๆ เพื่อให้ผู้ศึกษาได้รู้ว่าบุคคลแต่ละประเภทควรปฏิบัติตนเช่นใด หรือควรปฏิบัติต่อบุคคลแต่ละประเภทอย่างไร

ทุพฺภึ กโรติ ทุมฺเมโธ “คนมีปัญญาทราม ย่อมทำความประทุษร้าย”
หาเปติ อตฺถํ ทุมฺเมโธ “คนมีปัญญาทราม ย่อมพร่าประโยชน์เสีย”
อธุรายํ นิยุญฺชติ “คนมีปัญญาทราม ย่อมประกอบในทางอันมิใช่ธุระ”
อนยํ นยติ ทุมฺเมโธ “คนมีปัญญาทราม ย่อมแนะนำทางที่ไม่ควรแนะนำ”
อสนฺเตตฺถ น ทิสฺสนฺติ รตฺตึ ขิตฺตา ยถา สรา “อสัตบุรุษ แม้นั่งอยู่ในที่นี้เอง ก็ไม่ปรากฏ เหมือนลูกศรที่ยิงไปกลางคืน”

อสนฺเตตฺถ น ทิสฺสนฺติ รตฺตึ ขิตฺตา ยถา สรา

อสนฺเตตฺถ น ทิสฺสนฺติ รตฺตึ ขิตฺตา ยถา สรา. “อสัตบุรุษ แม้นั่งอยู่ในที่นี้เอง ก็ไม่ปรากฏ เหมือนลูกศรที่ยิงไปกลางคืน” (ขุ.ธ. 25/55)
อ่านต่ออสนฺเตตฺถ น ทิสฺสนฺติ รตฺตึ ขิตฺตา ยถา สรา
โย พาโล มญฺญตี พาลฺยํ ปณฺฑิโต วาปิ เตน โส “คนโง่รู้สึกว่าตนโง่ จะเป็นผู้ฉลาดเพราะเหตุนั้นได้บ้าง”

โย พาโล มญฺญตี พาลฺยํ ปณฺฑิโต วาปิ เตน โส

โย พาโล มญฺญตี พาลฺยํ ปณฺฑิโต วาปิ เตน โส. "คนโง่รู้สึกว่าตนโง่ จะเป็นผู้ฉลาดเพราะเหตุนั้นได้บ้าง" (ขุ.ธ. 25/23)
อ่านต่อโย พาโล มญฺญตี พาลฺยํ ปณฺฑิโต วาปิ เตน โส
อนุปาทา วิมุจฺจนฺติ “สาธุชนย่อมหลุดพ้นเพราะไม่ถือมั่น”
สตญฺจ คนฺโธ ปฏิวาตเมติ “กลิ่นของสัตบุรุษ ย่อมไปทวนลมได้”
อุปสนฺโต สุขํ เสติ “ผู้สงบระงับ ย่อมอยู่เป็นสุข”

อุปสนฺโต สุขํ เสติ “ผู้สงบระงับ ย่อมอยู่เป็นสุข”

อุปสนฺโต สุขํ เสติ. "ผู้สงบระงับ ย่อมอยู่เป็นสุข" (วิ.จุล. 7/107, สํ.ส. 15/312, องฺ.ติก. 20/175)
อ่านต่ออุปสนฺโต สุขํ เสติ “ผู้สงบระงับ ย่อมอยู่เป็นสุข”
สพฺพา ทิสา สปฺปุริโส ปวายติ “สัตบุรุษ ย่อมขจรไปทั่วทุกทิศ”
สนฺโต สคฺคปรายนา “สัตบุรุษ มีสวรรค์เป็นที่ไปในเบื้องหน้า”
สนฺโต สตฺตหิเต รตา “สัตบุรุษยินดีในการเกื้อกูลสัตว์”
สนฺโต น เต เย น วทนฺติ ธมฺมํ “ผู้ใดไม่พูดเป็นธรรม ผู้นั้นมิใช่สัตบุรุษ”