
ราชา มุขํ มนุสฺสานํ.
[คำอ่าน : รา-ชา, มุ-ขัง, มะ-นุด-สา-นัง]
“พระราชา เป็นประมุขของปวงชน”
(วิ.มหา. ๕/๑๒๔, ม.ม. ๑๓/๕๕๖, ขุ.สุ. ๒๕/๔๔๖)
พระราชา คือ ผู้ปกครองประเทศ เป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนทั้งประเทศ กำลังใจของประชาชนทั้งปวงขึ้นอยู่ที่ผู้ปกครองคือพระราชา
ธรรมดาผู้ที่จะเป็นพระราชาได้นั้น จะต้องได้สร้างบารมีในอดีตชาติมาเป็นอย่างมาก ดังนั้น พระราชาจึงเป็นผู้มีบารมียิ่งใหญ่ไพศาล และเป็นที่เคารพนับถือของประชาชนทั้งหลาย
ผู้ที่เป็นพระราชา จะต้องประกอบด้วยพรหมวิหารธรรม ทศพิธราชธรรม และสังคหวัตถุธรรม จึงจะสามารถได้รับการยอมรับนับถือและเป็นที่เคารพนับถือของประชาชน
สารบัญ พุทธศาสนสุภาษิต
- อัตตวรรค หมวดตน
- อัปปมาทวรรค หมวดความไม่ประมาท
- กัมมวรรค หมวดกรรม
- กิเลสวรรค หมวดกิเลส
- โกธวรรค หมวดความโกรธ
- ขันติวรรค หมวดความอดทน
- จิตตวรรค หมวดจิต
- ชยวรรค หมวดความชนะ
- ทานวรรค หมวดทาน
- ทุกขวรรค หมวดทุกข์
- ธัมมวรรค หมวดธรรม
- ปกิณกวรรค หมวดเบ็ดเตล็ด
- ปัญญาวรรค หมวดปัญญา
- ปมาทวรรค หมวดความประมาท
- ปาปวรรค หมวดบาป
- ปุคคลวรรค หมวดบุคคล
- ปุญญวรรค หมวดบุญ
- มัจจุวรรค หมวดความตาย
- มิตตวรรค หมวดมิตร
- ยาจนาวรรค หมวดการขอ
- ราชวรรค หมวดพระราชา
- วาจาวรรค หมวดวาจา
- วิริยวรรค หมวดความเพียร
- เวรวรรค หมวดเวร
- สัจจวรรค หมวดความสัตย์
- สติวรรค หมวดสติ
- สัทธาวรรค หมวดศรัทธา
- สันตุฏฐิวรรค หมวดสันโดษ
- สมณวรรค หมวดสมณะ
- สามัคคีวรรค หมวดสามัคคี
- สีลวรรค หมวดศีล
- สุขวรรค หมวดความสุข
- เสวนาวรรค หมวดการคบหา