
หทยสฺส สทิสี วาจา.
[คำอ่าน : หะ-ทะ-ยัด-สะ, สะ-ทิ-สี, วา-จา]
“วาจา เช่นเดียวกับใจ”
(ขุ.ชา.จตุกฺก. ๒๗/๑๓๘)
พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ว่า “คนทั้งหลายมีใจเห็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่” ดังนั้น การกระทำหรือคำพูดของคนทั่วไปจึงมีต้นตอมาจากใจนั่นเองเป็นผู้สั่งการ
ถ้าคนมีใจดี คิดแต่เรื่องดี ๆ มีใจอ่อนโยน การกระทำของเขาย่อมเป็นการกระทำที่ดี อ่อนโยน การพูดจาของเขาก็ย่อมเป็นการพูดแต่วาจาที่เป็นวจีสุจริต สุภาพ อ่อนโยน
แต่ถ้าจิตใจของเขาหยาบกระด้าง การกระทำของเขาก็ย่อมเป็นการกระทำที่ป่าเถื่อน วาจาก็เป็นวาจาที่หยาบคาย ไม่สุภาพ เช่นเดียวกัน
ดังนั้น การกระทำหรือคำพูด จึงเป็นสิ่งที่สามารถบอกได้ว่า สภาพจิตใจของคนนั้น ๆ เป็นเช่นไร.
สารบัญ พุทธศาสนสุภาษิต
- อัตตวรรค หมวดตน
- อัปปมาทวรรค หมวดความไม่ประมาท
- กัมมวรรค หมวดกรรม
- กิเลสวรรค หมวดกิเลส
- โกธวรรค หมวดความโกรธ
- ขันติวรรค หมวดความอดทน
- จิตตวรรค หมวดจิต
- ชยวรรค หมวดความชนะ
- ทานวรรค หมวดทาน
- ทุกขวรรค หมวดทุกข์
- ธัมมวรรค หมวดธรรม
- ปกิณกวรรค หมวดเบ็ดเตล็ด
- ปัญญาวรรค หมวดปัญญา
- ปมาทวรรค หมวดความประมาท
- ปาปวรรค หมวดบาป
- ปุคคลวรรค หมวดบุคคล
- ปุญญวรรค หมวดบุญ
- มัจจุวรรค หมวดความตาย
- มิตตวรรค หมวดมิตร
- ยาจนาวรรค หมวดการขอ
- ราชวรรค หมวดพระราชา
- วาจาวรรค หมวดวาจา
- วิริยวรรค หมวดความเพียร
- เวรวรรค หมวดเวร
- สัจจวรรค หมวดความสัตย์
- สติวรรค หมวดสติ
- สัทธาวรรค หมวดศรัทธา
- สันตุฏฐิวรรค หมวดสันโดษ
- สมณวรรค หมวดสมณะ
- สามัคคีวรรค หมวดสามัคคี
- สีลวรรค หมวดศีล
- สุขวรรค หมวดความสุข
- เสวนาวรรค หมวดการคบหา