
พระอรหันต์ 2 ประเภท
อรหันต์ คือ ผู้บรรลุอรหัตตผลแล้ว ผู้ห่างไกลจากกิเลส ท่านผู้สมควรรับทักษิณาและการเคารพบูชาอย่างแท้จริง แบ่งตามลักษณะการบรรลุธรรม เป็น 2 ประเภท คือ
1. สุกขวิปัสสก
สุกขวิปัสสก แปลว่า ผู้เห็นแจ้งอย่างแห้งแล้ง คือ ผู้ที่ไม่ได้ฌาน สำเร็จอรหัตตผลด้วยการเจริญวิปัสสนาล้วน ๆ อาศัยเพียงอุปจารสมาธิ เจริญวิปัสสนาไปจนถึงที่สุด แต่เมื่อจะสำเร็จอรหัตตผลนั้น ก็เป็นผู้ได้ปฐมฌาน พระอรหันต์ประเภทนี้ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วิปัสสนายานิก หรือ สุทธวิปัสสนายานิก คือผู้มีวิปัสสนาล้วน ๆ เป็นยาน
2. สมถยานิก
สมถยานิก แปลว่า ผู้มีสมถะเป็นยาน คือ ผู้ที่เจริญสมถะจนได้ฌานสมาบัติแล้วจึงเจริญวิปัสสนาต่อจนสำเร็จอรหัตตผล พระอรหันต์ประเภทนี้ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อุภโตภาควิมุต คือ ผู้หลุดพ้นทั้งสองส่วน
- ธรรมมีอุปการะมาก 2 ประการ
- ธรรมอันทำให้งาม 2 ประการ
- อริยบุคคล 2 ประเภท
- กาม 2 อย่าง
- เทศนา 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- เทศนา 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ธรรม 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- ธรรม 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ธรรม 2 ประการ (หมวดที่ 3)
- ธรรม 2 ประการ (หมวดที่ 4)
- สมาธิ 2 ประการ
- สุข 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- สุข 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ทุกข์ 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- ทุกข์ 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ทาน 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- ทาน 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ปธาน 2 ประการ
- ภาวนา 2 ประการ
- เวปุลละ 2 ประการ
- สัจจะ 2 ประการ
- พระอรหันต์ 2 ประเภท
- อุปัญญาตธรรม 2 ประการ
- ธรรมคุ้มครองโลก 2 ประการ
- สัทธา (ศรัทธา) 2 ประการ
- บุคคลหาได้ยาก 2 ประเภท
- กรรมฐาน 2 ประเภท
- ทิฏฐิ 2 ประการ
- นิพพาน 2 ประการ
- บูชา 2 ประการ
- ปฏิสันถาร 2 ประการ
- ปริเยสนา 2 ประการ
- ปาพจน์ 2 ประการ
- รูป 2 ประการ
- วิมุตติ 2 ประการ
- สังขาร 2 ประการ
- สุทธิ 2 ประการ
- กรรม 2 ประการ
- อันตา 2 ประการ
- ธุระ 2 ประการ
- บัญญัติ 2 ประการ
- ปัจจัยให้เกิดสัมมาทิฏฐิ 2 ประการ
- ฤทธิ์ 2 ประการ
- สังคหะ 2 ประการ
- ศาสนา 2 ประการ
- อัตถะ 2 ประการ
- เวทนา 2 ประการ
- ฌาน 2 ประเภท
- ฌาน 2 ประการ