
เวทนา 6 ประการ
เวทนา แปลว่า ความรู้สึก หรือ การเสวยอารมณ์ แบ่งตามช่องทางที่เกิดของเวทนาเป็น 6 ประการ คือ
1. จักขุสัมผัสสชาเวทนา
จักขุสัมผัสสชาเวทนา เวทนาที่เกิดจากการสัมผัสทางตา คือ ความรู้สึกที่เกิดจากการเห็น เช่น เห็นรูปที่สวยงาม น่าปรารถนา น่าพอใจ แล้วเกิดความรู้สึกเป็นสุข เห็นรูปที่ไม่สวยไม่งาม ไม่เป็นที่น่าพอใจ แล้วเกิดความรู้สึกเป็นทุกข์ เป็นต้น
2. โสตสัมผัสสชาเวทนา
โสตสัมผัสสชาเวทนา เวทนาที่เกิดจากการสัมผัสทางหู คือ ความรู้สึกที่เกิดจากการได้ยิน เช่น ได้ยินเสียงเพลงเพราะ ๆ เป็นที่น่าพอใจ แล้วเกิดความรู้สึกเป็นสุข ได้ยินเสียงด่า ไม่เป็นที่น่าพอใจ แล้วเกิดความรู้สึกเป็นทุกข์ เป็นต้น
3. ฆานสัมผัสสชาเวทนา
ฆานสัมผัสสชาเวทนา เวทนาที่เกิดจากการสัมผัสทางจมูก คือ ความรู้สึกที่เกิดจากการได้กลิ่น เช่น ได้กลิ่นน้ำหอมที่ชื่นชอบ เป็นที่น่าพอใจ แล้วเกิดความรู้สึกเป็นสุข ได้กลิ่นเหม็นจากกองขยะ ไม่เป็นที่น่าพอใจ แล้วเกิดความรู้สึกเป็นทุกข์ เป็นต้น
4. ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา
ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา เวทนาที่เกิดจากการสัมผัสทางลิ้น คือ ความรู้สึกที่เกิดจากการได้ลิ้มรส เช่น ได้ทานอาหารที่มีรสชาติอร่อย เป็นที่น่าพอใจ แล้วเกิดความรู้สึกเป็นสุข ได้ทานอาหารที่มีรสชาติไม่อร่อย ไม่เป็นที่น่าพอใจ แล้วเกิดความรู้สึกเป็นทุกข์ เป็นต้น
5. กายสัมผัสสชาเวทนา
กายสัมผัสสชาเวทนา เวทนาที่เกิดจากการสัมผัสทางกาย คือ ความรู้สึกที่เกิดจากการสัมผัสทางกาย เช่น มีคนนวดคลายเส้นให้ แล้วเกิดความรู้สึกเป็นสุข ถูกครูทำโทษโดยการเอาไม้เรียวตีที่มือ แล้วเกิดความรู้สึกเป็นทุกข์ เป็นต้น
6. มโนสัมผัสสชาเวทนา
มโนสัมผัสสชาเวทนา เวทนาที่เกิดจากการผัสผัสทางใจ คือ ความรู้สึกที่เกิดจากสัมผัสทางใจ เช่น โทสะเกิดขึ้นกระทบจิตใจ ทำให้เกิดความหงุดหงิดรำคาญใจ ปีติเกิดขึ้นกระทบจิตใจ ทำให้เกิดโสมนัสแช่มชื่นใจ เป็นต้น
- อนันตริยกรรม 5 ประการ
- อภิณหปัจจเวกขณ์ 5 ประการ
- เวสารัชชกรณธรรม 5 ประการ
- องค์แห่งภิกษุใหม่ (นวกภิกขุธรรม) 5 ประการ
- องค์แห่งพระธรรมกถึก (ธรรมเทสกธรรม) 5 ประการ
- ธัมมัสสวนานิสงส์ 5 ประการ
- พละ 5 ประการ
- พละ 5 ของพระมหากษัตริย์
- นิวรณ์ 5 ประการ
- ขันธ์ 5 ประการ
- อนุปุพพิกถา 5 ประการ
- กามคุณ 5 ประการ
- ปีติ 5 ประการ
- จักขุ 5 ประการ
- ธรรมขันธ์ 5 ประการ
- มัจฉริยะ 5 ประการ
- วิญญาณ 5 ประการ
- มาร 5 ประการ
- วิมุตติ 5 ประการ
- เวทนา 5 ประการ
- สังวร 5 ประการ
- สุทธาวาส 5 ชั้น
- พระอนาคามี 5 ประเภท
- พระอรหันต์ 5 ประเภท
- อุบาสกธรรม 5 ประการ
- มิจฉาวณิชชา 5 ประการ
- ศีล 5 ประการ
- ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ (โภคอาทิยะ) 5 ประการ
- พร 5 ประการ
- เทวทูต 5 ประการ
- ธรรมสมาธิ 5 ประการ
- นิยาม 5 ประการ
- หน้าที่มารดาบิดาที่มีต่อบุตร 5 ประการ
- หน้าที่ของบุตรธิดาที่พึงทำต่อมารดาบิดา 5 ประการ
- หน้าที่ศิษย์ที่พึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ 5 ประการ
- หน้าที่ครูอาจารย์ที่พึงปฏิบัติต่อศิษย์ 5 ประการ
- หน้าที่สามีที่พึงปฏิบัติต่อภรรยา 5 ประการ
- หน้าที่ภรรยาที่พึงปฏิบัติต่อสามี 5 ประการ
- แนวทางบำรุงน้ำใจมิตรสหาย 5 ประการ
- สิ่งที่เพื่อนควรปฏิบัติต่อเพื่อน 5 ประการ
- สิ่งที่นายจ้างควรปฏิบัติต่อลูกจ้าง 5 ประการ
- สิ่งที่ลูกจ้างควรปฏิบัติ 5 ประการ
- กิริยาที่พึงปฏิบัติต่อสมณะ 5 ประการ
- หน้าที่ของพระสงฆ์ที่พึงปฏิบัติต่อคฤหัสถ์ 6 ประการ
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 3)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 4)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 5)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 6)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 7)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 8)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 9)
- อาวาสิกธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 10)
- นิโรธ 5 ประการ
- พหูสูตมีองค์ 5 ประการ
- เบญจธรรม 5 ประการ
- อริยวัฑฒิ 5 ประการ
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 1)
- อายุวัฒนธรรม 5 ประการ (หมวดที่ 2)
- อินทรีย์ 5 ประการ
- คารวตา 6 ประการ
- สารณียธรรม 6 ประการ
- ปิยรูปสาตรูป
- อายตนะภายใน 6 ประการ
- อายตนะภายนอก 6 ประการ
- วิญญาณ 6 ประการ
- สัมผัส 6 ประการ
- เวทนา 6 ประการ
- สัญญา 6 ประการ
- สัญเจตนา 6 ประการ
- ตัณหา 6 ประการ
- วิตก 6 ประการ
- วิจาร 6 ประการ
- อภิญญา 6 ประการ
- อภิฐาน 6 ประการ
- จริต 6 ประการ
- ธรรมคุณ 6 ประการ
- ภัพพตาธรรม 6 ประการ
- เวปุลลธรรม 6 ประการ
- สวรรค์ 6 ชั้น
- วัฒนมุข 6 ประการ
- อนุตตริยะ 6 ประการ
- ทวาร 6 ประการ
- อบายมุข 6 ประการ
- ธาตุ 6 ประการ
- ธาตุกัมมัฏฐาน 6 ประการ
- ทิศ 6 ประการ