
มิตรแท้ 4 ประเภท
มิตรแท้ หรือ สุหทมิตร คือ มิตรที่มีความจริงใจ มิตรมีจิตใจดี เป็นบุคคลที่ควรคบหาไว้เป็นมิตร มี 4 ประเภท คือ
1. มิตรมีอุปการะ
มิตรมีอุปการะ หรือ อุปการกะ คือมิตรที่คอยช่วยเหลือเราในด้านต่าง ๆ มีลักษณะ 4 อย่าง ดังนี้
- เมื่อเพื่อนประมาท ช่วยรักษาเพื่อน
- เมื่อเพื่อนประมาท ช่วยรักษาทรัพย์สินของเพื่อน
- เมื่อมีภัยมา เป็นที่พึ่งพำนักได้
- เมื่อมีกิจจำเป็น ช่วยออกทรัพย์เกินกว่าที่ออกปาก
2. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์
มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ หรือ สมานสุขทุกข์ เป็นประเภทที่ ไม่ว่าจะสุขหรือทุกข์ เขาจะร่วมสู้ร่วมฝ่าฟันไปกับเรา มีลักษณะ 4 อย่าง ดังนี้
- บอกความลับของตนแก่เพื่อน
- ปิดความลับของเพื่อน
- เมื่อมีภัยไม่ทอดทิ้ง
- แม้ชีวิตก็สละแทนได้
3. มิตรแนะนำประโยชน์
มิตรแนะนำประโยชน์ หรือ อัตถักขายี เป็นเพื่อนประเภทที่คอยแนะนำสิ่งที่เป็นประโยชน์ แนะนำสิ่งที่ดีให้กับเรา มีลักษณะ 4 อย่าง คือ
- ห้ามไม่ให้ทำความชั่ว
- แนะนำให้ตั้งอยู่ในความดี
- ให้ได้ฟังได้รู้สิ่งที่ยังไม่เคยฟังไม่เคยรู้
- บอกทางสวรรค์ให้ คือแนะนำให้ดำรงตนอยู่ในสัมปรายิกัตถะ
4. มิตรมีความรักใคร่
มิตรมีความรักใคร่ หรือ อนุกัมปกะ เป็นเพื่อนประเภทที่มีน้ำใจ มีความรักเพื่อนด้วยใจจริง มีลักษณะ 4 อย่าง คือ
- มีทุกข์ ทุกข์ด้วย (เพื่อนมีทุกข์ก็ทุกข์ใจคอยช่วยเหลือ)
- มีสุข สุขด้วย (เพื่อนมีสุขก็ยินดีไปกับเพื่อน)
- เพื่อนถูกติเตียน ช่วยยับยั้งแก้ไข
- เพื่อนได้รับสรรเสริญ ช่วยส่งเสริม
มิตรแท้ 4 ประเภทนี้ เป็นมิตรที่คอยเกื้อกูลแนะนำประโยชน์ สามารถนำพาเราไปสู่ทางที่ดีได้ ควรคบไว้เป็นเพื่อน
- วุฑฒิธรรม 4 ประการ
- จักร 4 ประการ
- อคติ 4 ประการ
- อันตรายของภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่ 4 ประการ
- ปธาน 4 ประการ
- อธิษฐานธรรม 4 ประการ
- อิทธิบาท 4 ประการ
- สิ่งที่ไม่ควรประมาท 4 ประการ
- ปาริสุทธิศีล 4 ประการ
- อารักขกัมมัฏฐาน 4 ประการ
- พรหมวิหาร 4 ประการ
- สติปัฏฐาน 4 ประการ
- ธาตุกัมมัฏฐาน 4 ประการ
- อริยสัจ 4 ประการ
- อบาย 4 ประเภท
- อปัสเสนธรรม 4 ประการ
- อัปปมัญญา 4 ประการ
- อริยวงศ์ 4 ประการ
- อรูป 4 ประการ
- อวิชชา 4 ประการ
- อาหาร 4 ประการ
- อุปาทาน 4 ประการ
- โอฆะ 4 ประการ
- กิจในอริยสัจ 4
- ฌาน 4 ประการ
- ทักขิณาวิสุทธิ 4 ประการ
- ธรรมสมาทาน 4 ประการ
- บริษัท 4 (หมวดที่ 1)
- บริษัท 4 (หมวดที่ 2)
- บุคคล 4 ประเภท
- ปฏิปทา 4 ประการ
- ปฏิสัมภิทา 4 ประการ
- ภูมิ 4 ประการ
- มรรค 4 ประการ
- ผล 4 ประการ
- โยนิ 4 ประการ
- วรรณะ 4 ประการ
- วิบัติ 4 ประการ (หมวดที่ 1)
- วิบัติ 4 ประการ (หมวดที่ 2)
- เวสารัชชญาณ 4 ประการ
- เจดีย์ 4 ประการ
- ถูปารหบุคคล 4 ประเภท
- ธาตุ 4 ประการ
- ปรมัตถธรรม 4 ประการ
- ประมาณ (ปมาณิก) 4 ประเภท
- ปัจจัย 4 ประการ
- นิสสัย 4 ประการ
- ปัญญาวุฒิธรรม 4 ประการ
- พร 4 ประการ
- พละ 4 ประการ
- โภควิภาค 4
- มหาปเทส 4 ประการ
- โยคะ 4 ประการ
- เทสนาวิธี 4 ประการ
- วิธีปฏิบัติต่อทุกข์และสุข 4 ประการ
- สมบัติ 4 ประการ
- วิปลาส 4 ประการ
- เทวทูต 4 ประการ
- พหุการธรรม 4 ประการ
- สัทธา (ศรัทธา) 4 ประการ
- สมชีวิธรรม 4 ประการ
- สมาธิภาวนา 4 ประการ
- สังขาร 4 ประการ
- ราชสังคหวัตถุ 4 ประการ
- สังเวชนียสถาน 4 ประการ
- สัมปทา 4 ประการ
- โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 1)
- โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 2)
- โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 3)
- ธรรม 4 ประการ
- อาจารย์ 4 ประเภท
- สัมปชัญญะ 4 ประการ
- ลักษณะของขันติ 4 ประการ
- ภาวนา 4 ประการ
- มหาภูต (ภูตรูป) 4 ประการ
- อริยบุคคล 4 ประเภท
- พระอรหันต์ 4 ประเภท
- อาสวะ 4 ประการ
- นิมิต 4 ประการ
- กรรมกิเลส 4 ประการ
- อบายมุข 4 ประการ
- ทิฏฐิธัมมิกัตถะ 4 ประการ
- สัมปรายิกัตถะ 4 ประการ
- มิตรเทียม 4 ประเภท
- มิตรแท้ 4 ประเภท
- สังคหวัตถุ 4 ประการ
- สุขของคฤหัสถ์ 4 ประการ
- ความปรารถนาที่สมหมายได้ยาก 4 ประการ
- เหตุที่ตระกูลมั่งคั่งตั้งอยู่ไม่ได้นาน 4 ประการ
- กุลจิรัฏฐิติธรรม 4 ประการ
- ฆราวาสธรรม 4 ประการ