สังโยชน์

บุคคลพึงละความโกรธ พึงเลิกถือตัว พึงก้าวล่วงสังโยชน์ทั้งปวง (เพราะ) ทุกข์ทั้งหลาย ย่อมไม่ติดตามผู้ไม่ข้องอยู่ในนามรูป ไม่มีความกังวลนั้น

บุคคลพึงละความโกรธ พึงเลิกถือตัว พึงก้าวล่วงสังโยชน์ทั้งปวง ฯลฯ

โกธํ ชเห วิปฺปชเหยฺย มานํ สญฺโญชนํ สพฺพมติกฺกเมยฺย ตนฺนามรูปสฺมึ อสชฺชมานํ อกิญฺจนํ นานุปตนฺติ ทุกฺขา. “บุคคลพึงละความโกรธ พึงเลิกถือตัว พึงก้าวล่วงสังโยชน์ทั้งปวง (เพราะ) ทุกข์ทั้งหลาย ย่อมไม่ติดตามผู้ไม่ข้องอยู่ในนามรูป ไม่มีความกังวลนั้น.” (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/44.
อ่านต่อบุคคลพึงละความโกรธ พึงเลิกถือตัว พึงก้าวล่วงสังโยชน์ทั้งปวง ฯลฯ
บุคคลพึงละความโกรธ พึงเลิกถือตัว พึงก้าวล่วงสังโยชน์ทั้งปวง (เพราะ) เครื่องข้องทั้งหลาย ย่อมไม่ติดตามผู้ไม่ข้องในนามรูป ไม่มีความกังวลนั้น

บุคคลพึงละความโกรธ พึงเลิกถือตัว พึงก้าวล่วงสังโยชน์ทั้งปวง ฯลฯ

โกธํ ชเห วิปฺปชเหยฺย มานํ สญฺโญชนํ สพฺพมติกฺกเมยฺย ตํ นามรูปสฺมิมสชฺชมานํ อกิญฺจนํ นานุปตนฺติ สงฺคา. “บุคคลพึงละความโกรธ พึงเลิกถือตัว พึงก้าวล่วงสังโยชน์ทั้งปวง (เพราะ) เครื่องข้องทั้งหลาย ย่อมไม่ติดตามผู้ไม่ข้องในนามรูป ไม่มีความกังวลนั้น.” (พุทฺธ) สํ.ส. 15/350.
อ่านต่อบุคคลพึงละความโกรธ พึงเลิกถือตัว พึงก้าวล่วงสังโยชน์ทั้งปวง ฯลฯ
เมื่อใด พราหมณ์เป็นผู้ถึงฝั่งในธรรม 2 อย่าง เมื่อนั้น กิเลสเครื่องตรึงทั้งปวงของพราหมณ์ผู้รู้นั้น ย่อมถึงความตั้งอยู่ไม่ได้

เมื่อใด พราหมณ์เป็นผู้ถึงฝั่งในธรรม 2 อย่าง ฯลฯ

ยทา ทฺวเยสุ ธมฺเมสุ ปารคู โหติ พฺราหฺมโณ อถสฺส สพฺเพ สํโยคา อตฺถํ คจฺฉนฺติ ชานโต. “เมื่อใด พราหมณ์เป็นผู้ถึงฝั่งในธรรม 2 อย่าง เมื่อนั้น กิเลสเครื่องตรึงทั้งปวงของพราหมณ์ผู้รู้นั้น ย่อมถึงความตั้งอยู่ไม่ได้.” (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/67.
อ่านต่อเมื่อใด พราหมณ์เป็นผู้ถึงฝั่งในธรรม 2 อย่าง ฯลฯ
ภิกษุยินดีในความไม่ประมาท หรือเห็นภัยในความประมาท ย่อมเผาสังโยชน์น้อยใหญ่ไป เหมือนไฟไหม้เชื้อน้อยใหญ่ไปฉะนั้น

ภิกษุยินดีในความไม่ประมาท หรือเห็นภัยในความประมาท ฯลฯ

ภิกษุยินดีในความไม่ประมาท หรือเห็นภัยในความประมาท ย่อมเผาสังโยชน์น้อยใหญ่ไป เหมือนไฟไหม้เชื้อน้อยใหญ่ไปฉะนั้น. (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/19.
อ่านต่อภิกษุยินดีในความไม่ประมาท หรือเห็นภัยในความประมาท ฯลฯ