อวิชชา

เมื่อใด พราหมณ์เป็นผู้ถึงฝั่งในธรรม 2 อย่าง เมื่อนั้น กิเลสเครื่องตรึงทั้งปวงของพราหมณ์ผู้รู้นั้น ย่อมถึงความตั้งอยู่ไม่ได้

เมื่อใด พราหมณ์เป็นผู้ถึงฝั่งในธรรม 2 อย่าง ฯลฯ

ยทา ทฺวเยสุ ธมฺเมสุ ปารคู โหติ พฺราหฺมโณ อถสฺส สพฺเพ สํโยคา อตฺถํ คจฺฉนฺติ ชานโต. “เมื่อใด พราหมณ์เป็นผู้ถึงฝั่งในธรรม 2 อย่าง เมื่อนั้น กิเลสเครื่องตรึงทั้งปวงของพราหมณ์ผู้รู้นั้น ย่อมถึงความตั้งอยู่ไม่ได้.” (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/67.
อ่านต่อเมื่อใด พราหมณ์เป็นผู้ถึงฝั่งในธรรม 2 อย่าง ฯลฯ
ภิกษุยินดีในความไม่ประมาท หรือเห็นภัยในความประมาท ย่อมเผาสังโยชน์น้อยใหญ่ไป เหมือนไฟไหม้เชื้อน้อยใหญ่ไปฉะนั้น

ภิกษุยินดีในความไม่ประมาท หรือเห็นภัยในความประมาท ฯลฯ

ภิกษุยินดีในความไม่ประมาท หรือเห็นภัยในความประมาท ย่อมเผาสังโยชน์น้อยใหญ่ไป เหมือนไฟไหม้เชื้อน้อยใหญ่ไปฉะนั้น. (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/19.
อ่านต่อภิกษุยินดีในความไม่ประมาท หรือเห็นภัยในความประมาท ฯลฯ
โอฆะ 4 ประการ

โอฆะ 4 ประการ

โอฆะ แปลว่า ห้วงน้ำ หมายถึง สภาวะอันเป็นดุจกระแสน้ำหลากท่วมใจสัตว์ กิเลสที่เป็นเหมือนห้วงน้ำที่พัดพาสรรพสัตว์ให้จมอยู่ในวังวนแห่งสังสารวัฏ กิเลสดุจน้ำท่วมพาผู้ตกไปให้พินาศ โอฆะนี้ เรียกว่า โยคะ บ้าง เพราะเป็นกิเลสที่ผูกมัดสรรพสัตว์ไว้ในภพ เรียกว่า อาสวะ บ้าง เพราะเป็นกิเลสที่หมักหมมฝังแน่นอยู่ในสันดานของสรรพสัตว์
อ่านต่อโอฆะ 4 ประการ