สัมปชัญญะ

โสรัจจะ และอวิหิงสานั้น เป็นช้างเท้าหลัง สติและสัมปชัญญะนั้น เป็นช้างเท้าหน้า
เบญจธรรม 5 ประการ

เบญจธรรม 5 ประการ

เบญจธรรม แปลว่า ธรรม 5 ประการ หมายถึง ธรรมอันดีงามห้าอย่าง หรือคุณธรรมห้าประการ เป็นหลักธรรมที่ใช้ร่วมกับเบญจศีล เป็นธรรมที่เกื้อกูลแก่การรักษาศีลห้า เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เบญจกัลยาณธรรม
อ่านต่อเบญจธรรม 5 ประการ
ยศย่อมเจริญ แก่ผู้มีความหมั่น มีสติ มีการงานสะอาด ใคร่ครวญแล้วทำ ระวังดีแล้ว เป็นอยู่โดยธรรม และไม่ประมาท

ยศย่อมเจริญ แก่ผู้มีความหมั่น มีสติ มีการงานสะอาด ใคร่ครวญแล้วทำ ฯลฯ

ยศย่อมเจริญ แก่ผู้มีความหมั่น มีสติ มีการงานสะอาด ใคร่ครวญแล้วทำ ระวังดีแล้ว เป็นอยู่โดยธรรม และไม่ประมาท. (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/18.
อ่านต่อยศย่อมเจริญ แก่ผู้มีความหมั่น มีสติ มีการงานสะอาด ใคร่ครวญแล้วทำ ฯลฯ
สัมปชัญญะ 4 ประการ

สัมปชัญญะ 4 ประการ

สัมปชัญญะ มีลักษณะ 4 อย่าง คือ 1. สาตถกสัมปชัญญะ รู้ชัดว่ามีประโยชน์หรือไม่มีประโยชน์ 2. สัปปายสัมปชัญญะ รู้ชัดว่าเหมาะสมหรือไม่เหมาะสม 3. โคจรสัมปชัญญะ รู้ชัดในขอบเขตของสิ่งที่ทำ 4. อสัมโมหสัมปชัญญะ รู้ชัดตามเป็นจริงไม่หลงงมงาย
อ่านต่อสัมปชัญญะ 4 ประการ