สติ

โสรัจจะ และอวิหิงสานั้น เป็นช้างเท้าหลัง สติและสัมปชัญญะนั้น เป็นช้างเท้าหน้า
อินทรีย์ 5 ประการ

อินทรีย์ 5 ประการ

อินทรีย์ ธรรมที่เป็นใหญ่ในกิจของตน คือ เป็นใหญ่ในการทำหน้าที่แต่ละอย่าง ๆ ของตน ได้แก่ เป็นเจ้าการในการครอบงำเสียซึ่งความไร้ศรัทธา ความเกียจคร้าน ความประมาท ความฟุ้งซ่าน และความหลงตามลำดับ มี 5 ประการ
อ่านต่ออินทรีย์ 5 ประการ
เบญจธรรม 5 ประการ

เบญจธรรม 5 ประการ

เบญจธรรม แปลว่า ธรรม 5 ประการ หมายถึง ธรรมอันดีงามห้าอย่าง หรือคุณธรรมห้าประการ เป็นหลักธรรมที่ใช้ร่วมกับเบญจศีล เป็นธรรมที่เกื้อกูลแก่การรักษาศีลห้า เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เบญจกัลยาณธรรม
อ่านต่อเบญจธรรม 5 ประการ
สติปัฏฐาน 4 ประการ

สติปัฏฐาน 4 ประการ

สติปัฏฐาน คือ ที่ตั้งของสติ หมายถึง สิ่งที่จะต้องใช้สติกำหนดพิจารณาให้รู้เห็นตามความเป็นจริง คือตามที่สิ่งนั้น ๆ มันเป็นของมัน เพื่อให้เกิดปัญญารู้แจ้ง
อ่านต่อสติปัฏฐาน 4 ประการ