
นิมิต 4 ประการ
นิมิต แปลว่า เครื่องหมาย หรือ เครื่องกำหนด ในที่นี้หมายถึง สิ่งที่พระโพธิสัตว์ทอดพระเนตรเห็น อันเป็นสาเหตุให้ปรารภที่จะเสด็จออกบรรพชา มี 4 ประการ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เทวทูต 4 ประกอบด้วย
1. ชิณณะ
ชิณณะ คือ คนแก่ คนแก่เป็นสัญญาณเตือนให้เห็นถึงความไม่แน่นอนของชีวิต คนทุกคนเกิดมาไม่สามารถเป็นเด็กได้ตลอดหรือเป็นหนุ่มได้ตลอด เพราะสุดท้ายจะต้องเข้าถึงความแก่ ตามความเปลี่ยนแปลงของสังขาร และเมื่อเข้าถึงความแก่ ความเปลี่ยนแปลงทางร่างกายก็ปรากฏในทางที่เป็นลบ เช่น ความสามารถลดลง สติปัญญาถอยลง เป็นต้น
2. พยาธิตะ หรือ อาพาธิกะ
พยาธิตะ หรือ อาพาธิกะ คือ คนเจ็บป่วย ธรรมดาคนเจ็บป่วยนั้นจะได้รับความทุกข์ทรมานอันเกิดขึ้นจากความเจ็บป่วย หนักบ้างเบาบ้างตามกำลังของความเจ็บป่วยที่ได้รับ บ้างก็สามารถทนอยู่ได้จนร่างกายหายเป็นปกติ บ้างก็ต้องจบชีวิตลงเพราะฤทธิ์ของความเจ็บป่วยที่ได้รับ
3. กาลกตะ
กาลกตะ คือ คนตาย สัตว์ทั้งหลายตายด้วยสาเหตุหลายอย่าง บ้างก็ตายเพราะโรค บ้างก็ตายเพราะความแก่ตามกาลเวลา บ้างก็ตายเพราะถูกทำลายชีวิต และตายในวัยต่าง ๆ กัน เช่น บ้างก็ตายตั้งแต่อยู่ในท้องมารดา บ้างก็ตายในปฐมวัย บ้างก็ตายในมัชฌิมวัย บ้างก็ตายในปัจฉิมวัย แต่ไม่ว่าจะตายในวัยไหน หรือเพราะสาเหตุใด สุดท้าย สรรพสัตว์ทุกตัวตนจะต้องตายอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
4. ปัพพชิตะ
ปัพพชิตะ คือ บรรพชิต หรือนักบวช หมายถึง ผู้ที่ปลีกตนออกจากสังคม หลีกออกจากการดำรงชีวิตทางโลก มุ่งบำเพ็ญตบะธรรมเพื่อค้นหาความสุขที่แท้จริง หรือเพื่อหาทางพ้นจากทุกข์
พระโพธิสัตว์ทรงทอดพระเนตรเห็นนิมิตหรือเทวทูตทั้ง 4 ประการนี้ จึงทรงปรารภที่จะเสด็จออกผนวช เพื่อแสวงหาหนทางพ้นทุกข์
- วุฑฒิธรรม 4 ประการ
- จักร 4 ประการ
- อคติ 4 ประการ
- อันตรายของภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่ 4 ประการ
- ปธาน 4 ประการ
- อธิษฐานธรรม 4 ประการ
- อิทธิบาท 4 ประการ
- สิ่งที่ไม่ควรประมาท 4 ประการ
- ปาริสุทธิศีล 4 ประการ
- อารักขกัมมัฏฐาน 4 ประการ
- พรหมวิหาร 4 ประการ
- สติปัฏฐาน 4 ประการ
- ธาตุกัมมัฏฐาน 4 ประการ
- อริยสัจ 4 ประการ
- อบาย 4 ประเภท
- อปัสเสนธรรม 4 ประการ
- อัปปมัญญา 4 ประการ
- อริยวงศ์ 4 ประการ
- อรูป 4 ประการ
- อวิชชา 4 ประการ
- อาหาร 4 ประการ
- อุปาทาน 4 ประการ
- โอฆะ 4 ประการ
- กิจในอริยสัจ 4
- ฌาน 4 ประการ
- ทักขิณาวิสุทธิ 4 ประการ
- ธรรมสมาทาน 4 ประการ
- บริษัท 4 (หมวดที่ 1)
- บริษัท 4 (หมวดที่ 2)
- บุคคล 4 ประเภท
- ปฏิปทา 4 ประการ
- ปฏิสัมภิทา 4 ประการ
- ภูมิ 4 ประการ
- มรรค 4 ประการ
- ผล 4 ประการ
- โยนิ 4 ประการ
- วรรณะ 4 ประการ
- วิบัติ 4 ประการ (หมวดที่ 1)
- วิบัติ 4 ประการ (หมวดที่ 2)
- เวสารัชชญาณ 4 ประการ
- เจดีย์ 4 ประการ
- ถูปารหบุคคล 4 ประเภท
- ธาตุ 4 ประการ
- ปรมัตถธรรม 4 ประการ
- ประมาณ (ปมาณิก) 4 ประเภท
- ปัจจัย 4 ประการ
- นิสสัย 4 ประการ
- ปัญญาวุฒิธรรม 4 ประการ
- พร 4 ประการ
- พละ 4 ประการ
- โภควิภาค 4
- มหาปเทส 4 ประการ
- โยคะ 4 ประการ
- เทสนาวิธี 4 ประการ
- วิธีปฏิบัติต่อทุกข์และสุข 4 ประการ
- สมบัติ 4 ประการ
- วิปลาส 4 ประการ
- เทวทูต 4 ประการ
- พหุการธรรม 4 ประการ
- สัทธา (ศรัทธา) 4 ประการ
- สมชีวิธรรม 4 ประการ
- สมาธิภาวนา 4 ประการ
- สังขาร 4 ประการ
- ราชสังคหวัตถุ 4 ประการ
- สังเวชนียสถาน 4 ประการ
- สัมปทา 4 ประการ
- โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 1)
- โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 2)
- โสตาปัตติยังคะ 4 ประการ (หมวดที่ 3)
- ธรรม 4 ประการ
- อาจารย์ 4 ประเภท
- สัมปชัญญะ 4 ประการ
- ลักษณะของขันติ 4 ประการ
- ภาวนา 4 ประการ
- มหาภูต (ภูตรูป) 4 ประการ
- อริยบุคคล 4 ประเภท
- พระอรหันต์ 4 ประเภท
- อาสวะ 4 ประการ
- นิมิต 4 ประการ
- กรรมกิเลส 4 ประการ
- อบายมุข 4 ประการ
- ทิฏฐิธัมมิกัตถะ 4 ประการ
- สัมปรายิกัตถะ 4 ประการ
- มิตรเทียม 4 ประเภท
- มิตรแท้ 4 ประเภท
- สังคหวัตถุ 4 ประการ
- สุขของคฤหัสถ์ 4 ประการ
- ความปรารถนาที่สมหมายได้ยาก 4 ประการ
- เหตุที่ตระกูลมั่งคั่งตั้งอยู่ไม่ได้นาน 4 ประการ
- กุลจิรัฏฐิติธรรม 4 ประการ
- ฆราวาสธรรม 4 ประการ