
ฤทธิ์ 2 ประการ
ฤทธิ์ ในที่นี้หมายถึง ความสำเร็จ หรือ ความเจริญรุ่งเรือง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. อามิสฤทธิ์
อามิสฤทธิ์ คือ ความสำเร็จหรือความรุ่งเรืองทางวัตถุ หมายถึง ความสำเร็จในการดำรงชีวิตที่ต้องดิ้นรนพยายามประกอบสัมมาชีพ เพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินและวัตถุสิ่งของทั้งหลายที่ชาวโลกเขาต้องการกัน เช่น ความสำเร็จในการประกอบธุรกิจ ความสำเร็จในการสร้างฐานะ ความมั่งมีศรีสุข เป็นต้น
2. ธรรมฤทธิ์
ธรรมฤทธิ์ คือ ความสำเร็จหรือความรุ่งเรืองทางธรรม หมายถึง ความสำเร็จในการศึกษาพระสัทธรรม ความสำเร็จในการปฏิบัติธรรม การบรรลุธรรมขั้นสูงแต่ละระดับ เช่น การบรรลุเป็นพระโสดาบัน การบรรลุเป็นพระสกทาคามี เป็นต้น
ความสำเร็จหรือความรุ่งเรืองทั้ง 2 ด้าน เป็นความสำเร็จที่พึงปรารถนา แต่อย่างไรก็ตาม การจะประสบความสำเร็จทั้งสองด้านนั้น จำเป็นต้องอาศัยความเพียรพยายามอย่างยิ่งจึงจะได้มา มิใช่ได้มาโดยง่ายเลย
- ธรรมมีอุปการะมาก 2 ประการ
- ธรรมอันทำให้งาม 2 ประการ
- อริยบุคคล 2 ประเภท
- กาม 2 อย่าง
- เทศนา 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- เทศนา 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ธรรม 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- ธรรม 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ธรรม 2 ประการ (หมวดที่ 3)
- ธรรม 2 ประการ (หมวดที่ 4)
- สมาธิ 2 ประการ
- สุข 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- สุข 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ทุกข์ 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- ทุกข์ 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ทาน 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- ทาน 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ปธาน 2 ประการ
- ภาวนา 2 ประการ
- เวปุลละ 2 ประการ
- สัจจะ 2 ประการ
- พระอรหันต์ 2 ประเภท
- อุปัญญาตธรรม 2 ประการ
- ธรรมคุ้มครองโลก 2 ประการ
- สัทธา (ศรัทธา) 2 ประการ
- บุคคลหาได้ยาก 2 ประเภท
- กรรมฐาน 2 ประเภท
- ทิฏฐิ 2 ประการ
- นิพพาน 2 ประการ
- บูชา 2 ประการ
- ปฏิสันถาร 2 ประการ
- ปริเยสนา 2 ประการ
- ปาพจน์ 2 ประการ
- รูป 2 ประการ
- วิมุตติ 2 ประการ
- สังขาร 2 ประการ
- สุทธิ 2 ประการ
- กรรม 2 ประการ
- อันตา 2 ประการ
- ธุระ 2 ประการ
- บัญญัติ 2 ประการ
- ปัจจัยให้เกิดสัมมาทิฏฐิ 2 ประการ
- ฤทธิ์ 2 ประการ
- สังคหะ 2 ประการ
- ศาสนา 2 ประการ
- อัตถะ 2 ประการ
- เวทนา 2 ประการ
- ฌาน 2 ประเภท
- ฌาน 2 ประการ