วิภวตัณหา

ภิกษุรู้โทษอย่างนี้ว่า ตัณหาเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์แล้ว พึงเป็นผู้ปราศจากตัณหา ไม่ถือมั่น มีสติอยู่ทุกอิริยาบถเถิด

ภิกษุรู้โทษอย่างนี้ว่า ตัณหาเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ ฯลฯ

เอวมาทีนวํ ญตฺวา ตณฺหา ทุกฺขสฺส สมฺภวํ วีตตณฺโห อนาทาโน สโต ภิกฺขุ ปริพฺพเช. “ภิกษุรู้โทษอย่างนี้ว่า ตัณหาเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์แล้ว พึงเป็นผู้ปราศจากตัณหา ไม่ถือมั่น มีสติอยู่ทุกอิริยาบถเถิด.” (พุทฺธ) ขุ.สุ. 25/478, ขุ.จู. 30/320.
อ่านต่อภิกษุรู้โทษอย่างนี้ว่า ตัณหาเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ ฯลฯ
ความอยากย่อมชักลากนรชนไป ความอยากละได้ยากในโลก สัตว์เป็นอันมากถูกความอยากผูกมัดไว้ ดุจนางนกถูกบ่วงรัดไว้ฉะนั้น

ความอยากย่อมชักลากนรชนไป ความอยากละได้ยากในโลก ฯลฯ

อิจฺฉา นรํ ปริกสฺสติ อิจฺฉา โลกสฺมิ ทุชฺชหา อิจฺฉาพทฺธา ปุถู สตฺตา ปาเสน สกุณี ยถา. “ความอยากย่อมชักลากนรชนไป ความอยากละได้ยากในโลก สัตว์เป็นอันมากถูกความอยากผูกมัดไว้ ดุจนางนกถูกบ่วงรัดไว้ฉะนั้น.” (พุทฺธ) สํ.ส. 15/61.
อ่านต่อความอยากย่อมชักลากนรชนไป ความอยากละได้ยากในโลก ฯลฯ
โลกถูกความอยากผูกมัดไว้ จะหลุดได้เพราะกำจัดความอยาก, เพราะละความอยากเสียได้ จึงชื่อว่าตัดเครื่องผูกทั้งปวงได้

โลกถูกความอยากผูกมัดไว้ จะหลุดได้เพราะกำจัดความอยาก ฯลฯ

อิจฺฉาย พชฺฌตี โลโก อิจฺฉาวินยาย มุจฺจติ อิจฺฉาย วิปฺปหาเนน สพฺพํ ฉินฺทติ พนฺธนํ. “โลกถูกความอยากผูกมัดไว้ จะหลุดได้เพราะกำจัดความอยาก, เพราะละความอยากเสียได้ จึงชื่อว่าตัดเครื่องผูกทั้งปวงได้.” (พุทฺธ) สํ.ส. 15/56.
อ่านต่อโลกถูกความอยากผูกมัดไว้ จะหลุดได้เพราะกำจัดความอยาก ฯลฯ
อริยสัจ 4 ประการ

อริยสัจ 4 ประการ

อริยสัจ แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยะ หรือ ความจริงที่ทำให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ อริยสัจนี้ เป็นความจริงที่ประเสริฐกว่าความจริงทั้งหมด เพราะสามารถนำไปสู่ความพ้นทุกข์ได้ เป็นความจริงที่พระอริยะคือพระพุทธเจ้าทรงค้นพบด้วยพระองค์เอง และทำให้ผู้ที่เข้าถึงกลายเป็นพระอริยะ
อ่านต่ออริยสัจ 4 ประการ
ตัณหา 3 ประการ

ตัณหา 3 ประการ

กามตัณหา ความทะยานอยากในกาม หมายถึง ความทะยานอยากในการแสวงหากามคุณทั้งห้า คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่น่าใคร่น่าพอใจมาสนองความต้องการของตนเอง เช่น ต้องการเห็นรูปที่สวยงาม ต้องการฟังเสียงที่ไพเราะ เป็นต้น ก็ดิ้นรนแสวงหาสิ่งเหล่านั้นมาสนองความต้องการของตนเอง
อ่านต่อตัณหา 3 ประการ