
เวทนา 2 ประการ
เวทนา แปลว่า ความรู้สึก หรือ การเสวยอารมณ์ แบ่งตามทางที่เกิดความรู้สึกเป็น 2 ประการ คือ
1. กายิกเวทนา
กายิกเวทนา เวทนาทางกาย ความรู้สึกทางกาย การเสวยอารมณ์ทางกาย หมายถึง ความรู้สึกที่เกิดขึ้นทางร่างกาย หรือรับรู้ได้ทางร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นความรู้สึกที่เป็นสุขหรือทุกข์ก็ตาม เช่น เย็น ร้อน อ่อน แข็ง เป็นต้น
2. เจตสิกเวทนา
เจตสิกเวทนา เวทนาทางใจ ความรู้สึกทางใจ การเสวยอารมณ์ทางใจ หมายถึง ความรู้สึกที่เกิดขึ้นทางใจ หรือรับรู้ได้ทางใจ ไม่ว่าจะเป็นความรู้สึกที่เป็นสุขหรือเป็นทุกข์ก็ตาม เช่น ความสบายใจ ความไม่สบายใจ ความแช่มชื่นใจ ความเสียใจ เป็นต้น
- ธรรมมีอุปการะมาก 2 ประการ
- ธรรมอันทำให้งาม 2 ประการ
- อริยบุคคล 2 ประเภท
- กาม 2 อย่าง
- เทศนา 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- เทศนา 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ธรรม 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- ธรรม 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ธรรม 2 ประการ (หมวดที่ 3)
- ธรรม 2 ประการ (หมวดที่ 4)
- สมาธิ 2 ประการ
- สุข 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- สุข 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ทุกข์ 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- ทุกข์ 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ทาน 2 ประการ (หมวดที่ 1)
- ทาน 2 ประการ (หมวดที่ 2)
- ปธาน 2 ประการ
- ภาวนา 2 ประการ
- เวปุลละ 2 ประการ
- สัจจะ 2 ประการ
- พระอรหันต์ 2 ประเภท
- อุปัญญาตธรรม 2 ประการ
- ธรรมคุ้มครองโลก 2 ประการ
- สัทธา (ศรัทธา) 2 ประการ
- บุคคลหาได้ยาก 2 ประเภท
- กรรมฐาน 2 ประเภท
- ทิฏฐิ 2 ประการ
- นิพพาน 2 ประการ
- บูชา 2 ประการ
- ปฏิสันถาร 2 ประการ
- ปริเยสนา 2 ประการ
- ปาพจน์ 2 ประการ
- รูป 2 ประการ
- วิมุตติ 2 ประการ
- สังขาร 2 ประการ
- สุทธิ 2 ประการ
- กรรม 2 ประการ
- อันตา 2 ประการ
- ธุระ 2 ประการ
- บัญญัติ 2 ประการ
- ปัจจัยให้เกิดสัมมาทิฏฐิ 2 ประการ
- ฤทธิ์ 2 ประการ
- สังคหะ 2 ประการ
- ศาสนา 2 ประการ
- อัตถะ 2 ประการ
- เวทนา 2 ประการ
- ฌาน 2 ประเภท
- ฌาน 2 ประการ