อทินนาทาน

สิ่งที่ไม่ควรประมาท 4 ประการ

สิ่งที่ไม่ควรประมาท 4 ประการ

ความประมาท หมายถึง ความลุ่มหลงมัวเมา ก็ได้ ความขาดสติ, ความเผอเรอ ก็ได้ ความไม่เอาใจใส่ ไม่ให้ความสำคัญ ก็ได้ ความประมาทในที่นี้ หมายเอาการไม่เอาใจใส่ หรือการไม่ให้ความสำคัญ ดังนั้น สิ่งที่ไม่ควรประมาท จึงหมายถึง สิ่งที่ไม่ควรละเลย หรือสิ่งที่ควรให้ความสำคัญ มี 4 ประการ
อ่านต่อสิ่งที่ไม่ควรประมาท 4 ประการ
กรรมกิเลส 4 ประการ

กรรมกิเลส 4 ประการ

กรรมกิเลส แปลว่า กรรมเครื่องเศร้าหมอง หมายถึง การกระทำที่นำมาซึ่งทุกข์ เพราะเป็นกรรมที่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่นให้ได้รับความเดือดร้อน ผู้กระทำย่อมถูกสังคมติเตียนรังเกียจ มี 4 ประการ
อ่านต่อกรรมกิเลส 4 ประการ
กุศลกรรมบถ 10 ประการ

กุศลกรรมบถ 10 ประการ

กุศลกรรมบถ แปลว่า ทางแห่งกุศลกรรม ทางแห่งความดี หรือกรรมดีอันจะเป็นทางนำไปสู่สุคติ มี 10 ประการ แบ่งออกเป็นฝ่ายกายกรรม 3 ประการ ฝ่ายวจีกรรม 4 ประการ และฝ่ายมโนกรรม 3 ประการ
อ่านต่อกุศลกรรมบถ 10 ประการ
อกุศลกรรมบถ 10 ประการ

อกุศลกรรมบถ 10 ประการ

อกุศลกรรมบถ แปลว่า ทางแห่งอกุศลกรรม ทางแห่งความชั่ว หมายถึง สิ่งที่จะนำพาเราไปสู่สิ่งที่ชั่วร้าย หรือความชั่วอันจะเป็นทางไปสู่ความเสื่อม ความทุกข์ หรือทุคติ มี 10 ประการ แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ กายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม ฝ่ายชั่ว
อ่านต่ออกุศลกรรมบถ 10 ประการ
สุจริต 3 ประการ

สุจริต 3 ประการ

สุจริต แปลว่า ความประพฤติดี หมายถึง การทำความดีทางกาย ทางวาจา และทางใจ อันจะเป็นเหตุให้เกิดความสุขสงบร่มเย็นทั้งแก่ตนเองและผู้อื่น มี 3 อย่าง
อ่านต่อสุจริต 3 ประการ
ทุจริต 3 ประการ

ทุจริต 3 ประการ

คำว่า “ทุจริต” แปลว่า ความประพฤติชั่ว คือความประพฤติที่เป็นบาปอกุศล ผิดศีลธรรม เป็นการกระทำที่ก่อทุกข์ก่อโทษให้แก่ตนเองและผู้อื่น มี 3 อย่าง
อ่านต่อทุจริต 3 ประการ
โอวาทของพระพุทธเจ้า 3 ข้อ

โอวาทของพระพุทธเจ้า 3 ข้อ

โอวาทของพระพุทธเจ้า หรือ พุทธโอวาท หมายถึง คำสอนของพระพุทธเจ้า หมายเอาคำสอนที่พระพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ตรัสสอนเหล่าพุทธสาวก
อ่านต่อโอวาทของพระพุทธเจ้า 3 ข้อ
ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ได้ยินว่า ตนแลฝึกได้ยาก

ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ฯลฯ

ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ได้ยินว่า ตนแลฝึกได้ยาก (พุทฺธ) ขุ.ธ. 25/36.
อ่านต่อถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ฯลฯ
ศีลข้อที่ ๒ อทินนาทานา เวรมณี เจตนางดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของไม่ได้ให้

ศีลข้อที่ 2 อทินนาทานา เวรมณี เจตนางดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของไม่ได้ให้

ศีลข้อที่ 2 อทินนาทานา เวรมณี เจตนางดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของไม่ได้ให้ พระพุทธศาสนาสอนให้เรางดการขโมย การชิงทรัพย์ของคนอื่น การฉ้อโกง
อ่านต่อศีลข้อที่ 2 อทินนาทานา เวรมณี เจตนางดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของไม่ได้ให้
ศีล 5 ประการ

ศีล 5 ประการ

ศีล 5 ข้อ 1. ปาณาติปาตา เวรมณี เจตนางดเว้นจากการทำสัตว์มีชีวิตให้ตกล่วงไป 2. อทินนาทานา เวรมณี เจตนางดเว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของเขาไม่ได้ให้ 3. กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี เจตนางดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม 4. มุสาวาทา เวรมณี เจตนางดเว้นจากการกล่าวเท็จ 5. สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี เจตนางดเว้นจากการเสพของมึนเมาคือสุราและเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
อ่านต่อศีล 5 ประการ