จตุกกะ หมวดสี่

กุลจิรัฏฐิติธรรม 4 ประการ

กุลจิรัฏฐิติธรรม 4 ประการ

กุลจิรัฏฐิติธรรม คือ ธรรมสำหรับดำรงความมั่งคั่งของตระกูลให้ยั่งยืน ได้แก่ สาเหตุที่ทำให้ตระกูลมั่งคั่งสามารถดำรงอยู่ได้นาน ไม่พบกับความพินาศฉิบหายแห่งทรัพย์ มี 4 ประการ
อ่านต่อกุลจิรัฏฐิติธรรม 4 ประการ
เหตุที่ตระกูลมั่งคั่งตั้งอยู่ไม่ได้นาน 4 ประการ

เหตุที่ตระกูลมั่งคั่งตั้งอยู่ไม่ได้นาน 4 ประการ

พระพุทธเจ้าทรงแสดงเหตุ 4 ประการ ที่ทำให้ตระกูลที่ร่ำรวยต้องพบกับความพินาศหรือพบกับความยากจน เป็นธรรมสำหรับเตือนสติผู้ครองเรือน เพื่อให้หลีกเลี่ยงการกระทำ 4 อย่างนี้ จะได้รักษาตระกูลเอาไว้ได้ ไม่ต้องพบกับความพินาศย่อยยับ
อ่านต่อเหตุที่ตระกูลมั่งคั่งตั้งอยู่ไม่ได้นาน 4 ประการ
ความปรารถนาที่สมหมายได้ยาก 4 ประการ

ความปรารถนาที่สมหมายได้ยาก 4 ประการ

ชาวโลกทั้งปวงต้องการมีทรัพย์สมบัติจำนวนมาก จึงพากันดิ้นรนเพื่อแสวงหาทรัพย์ ต้องทำงานทำการ ประกอบธุรกิจต่าง ๆ นานา เพื่อให้ได้ทรัพย์สินมา คนจนก็ต้องการมีฐานะร่ำรวย แม้แต่คนที่รวยอยู่แล้วก็ยังต้องการร่ำรวยยิ่งขึ้นไปอีก
อ่านต่อความปรารถนาที่สมหมายได้ยาก 4 ประการ
สุขของคฤหัสถ์ 4 ประการ

สุขของคฤหัสถ์ 4 ประการ

สุขของคฤหัสถ์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า คิหิสุข หรือ กามโภคีสุข หมายถึง ความสุขของชาวบ้าน ความสุขระดับชาวบ้าน ความสุขระดับของผู้ครองเรือน เป็นความสุขที่อยู่ในระดับโลกิยสุข เป็นความสุขอันชอบธรรมที่ผู้ครองเรือนทั่วไปควรมี ท่านจำแนกไว้ 4 ประการ
อ่านต่อสุขของคฤหัสถ์ 4 ประการ
สังคหวัตถุ 4 ประการ

สังคหวัตถุ 4 ประการ

สังคหวัตถุ แปลว่า วัตถุเป็นเครื่องสงเคราะห์ หรือ หลักการสงเคราะห์ หมายถึง ธรรมเป็นเครื่องสงเคราะห์กัน ธรรมเครื่องยึดเหนี่ยวใจบุคคล ธรรมเป็นเครื่องผูกไมตรี ผู้ประพฤติธรรมข้อนี้จะเป็นผู้มีเสน่ห์ ผู้คนรักใคร่เอ็นดู มี 4 ประการ
อ่านต่อสังคหวัตถุ 4 ประการ
มิตรเทียม 4 ประเภท

มิตรเทียม 4 ประเภท

มิตรเทียม หรือ มิตรปฏิรูปก์ คือ คนเทียมมิตร ไม่ใช่มิตรแท้ คนพวกนี้เหมือนจะเป็นเพื่อนแต่ก็ไม่ควรเรียกว่าเพื่อน เปรียบเหมือนศรัตรูที่อยู่ในร่างมิตร ไม่ควรคบ มี 4 ประเภท
อ่านต่อมิตรเทียม 4 ประเภท
สัมปรายิกัตถะ 4 ประการ

สัมปรายิกัตถะ 4 ประการ

สัมปรายิกัตถะ หรือ สัมปรายิกัตถสังวัตตนิกธรรม คือ ธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์เบื้องหน้า หรือ ธรรมที่เกื้อหนุนให้ได้ประโยชน์ในภายหน้าหรือภพหน้า มี 4 ประการ
อ่านต่อสัมปรายิกัตถะ 4 ประการ
ทิฏฐธัมมิกัตถะ 4 ประการ

ทิฏฐธัมมิกัตถะ 4 ประการ

ทิฏฐธัมมิกัตถะ หรือ ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม คือ ธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ในปัจจุบัน หลักธรรมอันอำนวยประโยชน์สุขในขั้นต้น เป็นหลักปฏิบัติในการสร้างเนื้อสร้างตัว สร้างฐานะที่มั่นคง มี 4 ประการ
อ่านต่อทิฏฐธัมมิกัตถะ 4 ประการ
อบายมุข 4 ประการ

อบายมุข 4 ประการ

อบายมุข แปลว่า ช่องทางของความเสื่อม ปากแห่งความเสื่อม หมายถึง ทางที่จะนำไปสู่ความพินาศ เหตุย่อยยับแห่งโภคทรัพย์ เป็นทางแห่งความเสื่อมทรัพย์สมบัติและเกียรติยศชื่อเสียง ผู้ใดประพฤติเข้า ย่อมถึงความวิบัติล่มจม ท่านจำแนกไว้ 4 ประการบ้าง 6 ประการบ้าง
อ่านต่ออบายมุข 4 ประการ
กรรมกิเลส 4 ประการ

กรรมกิเลส 4 ประการ

กรรมกิเลส แปลว่า กรรมเครื่องเศร้าหมอง หมายถึง การกระทำที่นำมาซึ่งทุกข์ เพราะเป็นกรรมที่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่นให้ได้รับความเดือดร้อน ผู้กระทำย่อมถูกสังคมติเตียนรังเกียจ มี 4 ประการ
อ่านต่อกรรมกิเลส 4 ประการ
อาสวะ 4 ประการ

อาสวะ 4 ประการ

อาสวะ คือ สภาวะอันหมักดองสันดาน สิ่งที่มอมเมาพื้นจิต กิเลสที่ไหลซึมซ่านไปย้อมใจเมื่อประสบอารมณ์ต่าง ๆ จัดเป็นกิเลสอย่างละเอียด ปกติจะไม่แสดงตัวออกมา ต่อเมื่อประสบกับอารมณ์ที่น่าใคร่น่าพอใจจึงจะแสดงตัวออกมา ท่านจำแนกไว้ 3 ประการบ้าง 4 ประการบ้าง
อ่านต่ออาสวะ 4 ประการ
พระอรหันต์ 4 ประเภท

พระอรหันต์ 4 ประเภท

พระอรหันต์ หมายถึง ผู้ห่างไกลจากกิเลส จัดเป็นพระอริยบุคคลชั้นสูงสุดในบรรดาพระอริยบุคคล 4 ประเภท พระอรหันต์นั้น ถือว่าเป็นผู้หมดกิเลสเหมือนกันทั้งหมด แต่จะมีคุณสมบัติหรือคุณพิเศษแตกต่างกันไปบ้าง ท่านแบ่งพระอรหันต์ออกเป็น 2 ประเภทบ้าง 4 ประเภทบ้าง 5 ประเภทบ้าง
อ่านต่อพระอรหันต์ 4 ประเภท
มหาภูต (ภูตรูป) 4 ประการ

มหาภูต (ภูตรูป) 4 ประการ

มหาภูต (ภูตรูป) 4 ประการ 1. ปฐวีธาตุ สภาวะที่แผ่ไปหรือกินเนื้อที่ 2. อาโปธาตุ สภาวะที่เอิบอาบหรือดูดซึม 3. เตโชธาตุ สภาวะที่ทำให้ร้อน 4. วาโยธาตุ สภาวะที่ทำให้สั่นไหว
อ่านต่อมหาภูต (ภูตรูป) 4 ประการ