ธรรมวิภาค

สังขาร 4 ประการ

สังขาร 4 ประการ

สังขตสังขาร หมายถึง สังขารคือสังขตธรรม ได้แก่ สิ่งทั้งปวงที่เกิดจากปัจจัยปรุงแต่ง รูปธรรมก็ตาม นามธรรมก็ตาม ได้ในคำว่า อนิจฺจา วต สงฺขารา เป็นต้น
อ่านต่อสังขาร 4 ประการ
สัทธา (ศรัทธา) 4 ประการ

สัทธา (ศรัทธา) 4 ประการ

สัทธา หรือ ศรัทธา แปลว่า ความเชื่อ หมายถึง ความเชื่อที่ประกอบด้วยเหตุผล ความเชื่อที่ผ่านการใช้ปัญญาพิจารณาไตร่ตรองอย่างมีเหตุผลแล้วจึงตกลงใจเชื่อ
อ่านต่อสัทธา (ศรัทธา) 4 ประการ
พหุการธรรม 4 ประการ

พหุการธรรม 4 ประการ

พหุการธรรม คือ ธรรมมีอุปการะมาก เป็นเครื่องช่วยให้สามารถสร้างสมความดีอื่น ๆ ทุกอย่าง และช่วยให้ประสบ ความเจริญก้าวหน้าในชีวิต บรรลุความงอกงามไพบูลย์
อ่านต่อพหุการธรรม 4 ประการ
เทวทูต 4 ประการ

เทวทูต 4 ประการ

เทวทูต คือ ทูตแห่งเทวดา ทูตจากเทวดา ทูตที่เทวดาแสดงให้เห็น หมายถึง สิ่งที่เทวดาแสดงให้พระโพธิสัตว์ได้ทอดพระเนตรเห็น เพื่อให้พระองค์เกิดความสลดสังเวชและตัดสินพระทัยที่จะเสด็จออกผนวช
อ่านต่อเทวทูต 4 ประการ
วิปลาส 4 ประการ

วิปลาส 4 ประการ

วิปลาส หรือ วิปัลลาส คือ ความรู้เห็นคลาดเคลื่อน ความเข้าใจผิดเพี้ยนจากความเป็นจริง ได้แก่ รู้เห็นผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริงที่เป็นอยู่โดยธรรมชาติ วิปลาสนั้นมีอยู่ 3 ระดับ
อ่านต่อวิปลาส 4 ประการ
สมบัติ 4 ประการ

สมบัติ 4 ประการ

สมบัติ คือ ข้อดี ความเพียบพร้อม ความสมบูรณ์แห่งองค์ประกอบต่าง ๆ ซึ่งอำนวยแก่การให้ผลของกรรมดี และไม่เปิดช่องให้กรรมชั่วแสดงผล หรือส่วนประกอบอำนวย ช่วยเสริมกรรมดี มี 4 ประการ
อ่านต่อสมบัติ 4 ประการ
วิธีปฏิบัติต่อทุกข์และสุข 4 ประการ

วิธีปฏิบัติต่อทุกข์และสุข 4 ประการ

วิธีปฏิบัติต่อทุกข์และสุข คือ หลักการเพียรพยายามให้ได้ผลในการละทุกข์และลุถึงสุข การปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความทุกข์และความสุข ซึ่งเป็นไปตามหลักพระพุทธศาสนา
อ่านต่อวิธีปฏิบัติต่อทุกข์และสุข 4 ประการ
เทสนาวิธี 4 ประการ

เทสนาวิธี 4 ประการ

เทสนาวิธี หรือ ลีลาการสอน หรือ พุทธลีลาในการสอน การสอนของพระพุทธเจ้าแต่ละครั้ง แม้ที่เป็นเพียงธรรมีกถา หรือการสนทนาทั่วไป ซึ่งมิใช่คราวที่มีความมุ่งหมายเฉพาะพิเศษ ก็จะดำเนินไปอย่างสำเร็จผลดีโดยมีองค์ประกอบที่เป็นคุณลักษณะ 4 ประการ
อ่านต่อเทสนาวิธี 4 ประการ
โภควิภาค 4 (หลักการแบ่งทรัพย์เป็น 4 ส่วน)

โภควิภาค 4 (หลักการแบ่งทรัพย์เป็น 4 ส่วน)

โภควิภาค คือหลักการแบ่งทรัพย์สินหรือการจัดสรรทรัพย์สินออกเป็นส่วน ๆ เพื่อแบ่งใช้และแบ่งเก็บ เป็นหลักการบริหารทรัพย์สินให้พอมีใช้ในปัจจุบันและมีเก็บไว้ใช้ในอนาคตเมื่อจำเป็น
อ่านต่อโภควิภาค 4 (หลักการแบ่งทรัพย์เป็น 4 ส่วน)
พละ 4 ประการ

พละ 4 ประการ

พละ หมายถึง ธรรมอันเป็นกำลัง ธรรมอันเป็นพลังทำให้ดำเนินชีวิตด้วยความมั่นใจ ไม่หวั่นต่อภัยทุกอย่าง ท่านจำแนกไว้ 4 ประการ
อ่านต่อพละ 4 ประการ
พร 5 ประการ

พร 5 ประการ

พร 5 ประการ 1. อายุ พลังที่หล่อเลี้ยงทรงชีวิต 2. วรรณะ ความงามเอิบอิ่มผ่องใส 3. สุขะ ความสุข 4. โภคะ ความพรั่งพร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ 5. พละ กำลังแรงความเข้มแข็ง
อ่านต่อพร 5 ประการ
พร 4 ประการ

พร 4 ประการ

พร หมายถึง สิ่งน่าปรารถนาที่บุคคลหนึ่งอำนวยให้หรือแสดงความประสงค์ด้วยความปรารถนาดีให้เกิดมีขึ้นแก่บุคคลอื่น หรือสิ่งประเสริฐ สิ่งดีเยี่ยม
อ่านต่อพร 4 ประการ
ปัญญาวุฒิธรรม 4 ประการ

ปัญญาวุฒิธรรม 4 ประการ

ปัญญาวุฒิธรรม คือ หลักธรรมที่ก่อให้เกิดความเจริญแห่งปัญญา หลักธรรมที่สนับสนุนปัญญา หลักธรรมที่เป็นเหตุพอกพูนปัญญา มี 4 ประการ
อ่านต่อปัญญาวุฒิธรรม 4 ประการ