ติกะ หมวดสาม

สังขตลักษณะ 3 ประการ

สังขตลักษณะ 3 ประการ

สังขตลักษณะ หมายถึง ลักษณะแห่งสังขตธรรม คือธรรมที่ปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ทั้งที่เป็นโลกิยะและโลกุตตระ ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ยกเว้นพระนิพพาน ซึ่งสังขตลักษณะนี้ จะทำให้เข้าใจสังขตธรรมได้ชัดเจนขึ้น ลักษณะแห่งสังขตธรรม มี 3 อย่าง
อ่านต่อสังขตลักษณะ 3 ประการ
วิเวก 3 ประการ

วิเวก 3 ประการ

วิเวก แปลว่า ความสงัด หรือ การปลีกออก หมายถึง ความปราศจากสิ่งที่มารบกวนให้เกิดความฟุ้งซ่านรำคาญ หรือการปลีกออกจากสิ่งที่เป็นข้าศึกของความสงบ มี 3 ระดับ
อ่านต่อวิเวก 3 ประการ
วัฏฏะ 3 ประการ

วัฏฏะ 3 ประการ

วัฏฏะ แปลว่า วน วงกลม วงเวียน หรือการหมุนเวียน หมายถึง องค์ประกอบที่หมุนเวียนต่อเนื่องกันของภวจักร หรือสังสารจักร เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไตรวัฏฏ์ ได้แก่การหมุนเวียนของกิเลส กรรม และวิบาก
อ่านต่อวัฏฏะ 3 ประการ
โลก 3 ประการ

โลก 3 ประการ (นัยที่ 3)

กามโลก คือ โลกที่เป็นกามาวจร หมายถึง โลกอันเป็นที่อยู่ของหมู่สัตว์ผู้ยังเสวยกามคุณ 5 คือยังเสวยอารมณ์ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 อยู่ ได้แก่ อบายภูมิ 4 มนุษยโลก 1 และ กามาวจรสวรรค์ 6
อ่านต่อโลก 3 ประการ (นัยที่ 3)
ภพ 3 ประการ

ภพ 3 ประการ

ภพ คือ ภาวะชีวิตของสัตว์ หรือ โลกเป็นที่อยู่ของสัตว์ หมายถึง โลกอันเป็นที่อยู่ของหมู่สัตว์ที่ยังต้องเวียนว่ายตายเกิด ตามอำนาจของบุญและบาปที่ตนได้กระทำไว้ แบ่งเป็น 3 ประเภท
อ่านต่อภพ 3 ประการ
พุทธจริยา 3 ประการ

พุทธจริยา 3 ประการ

โลกัตถจริยา พระพุทธจริยาเพื่อประโยชน์แก่โลก หมายถึง การบำเพ็ญประโยชน์แก่ชาวโลก ในฐานะที่พระองค์ทรงเป็นพระโลกนาถ คือ ที่พึ่งของชาวโลก เช่น ทรงบำเพ็ญพุทธกิจ 5 ประการเป็นประจำไม่มีว่างเว้น
อ่านต่อพุทธจริยา 3 ประการ
ปิฎก 3 ประการ (ไตรปิฎก)

ปิฎก 3 ประการ (ไตรปิฎก)

ปิฎก แปลว่า กระจาด ตระกร้า กระบุง สำหรับเก็บของหรือใส่ของ ซึ่งสามารถเอาของหลายอย่างมาใส่รวมกันไว้ได้ไม่ให้กระจัดกระจาย ในที่นี้ หมายถึง คัมภีร์ที่รวบรวมพระพุทธพจน์อันเป็นคำสอนของพระพุทธศาสนาเข้าไว้เป็นหมวดหมู่ มีทั้งหมด 3 หมวด เรียกว่า พระไตรปิฎก
อ่านต่อปิฎก 3 ประการ (ไตรปิฎก)
ปาฏิหาริย์ 3 ประการ

ปาฏิหาริย์ 3 ประการ

อิทธิปาฏิหาริย์ ปาฏิหาริย์คือฤทธิ์ การแสดงฤทธิ์เป็นอัศจรรย์ หมายถึง การแสดงฤทธิ์ เช่น เหาะเหินเดินอากาศ ดำดิน หายตัว แยกร่างเป็นหลาย ๆ ร่าง เป็นต้น
อ่านต่อปาฏิหาริย์ 3 ประการ
ปหาน 3 ประการ

ปหาน 3 ประการ

วิกขัมภนปหาน แปลว่า การละด้วยการข่มไว้ การละด้วยการกดทับไว้ เป็นการละกิเลสของท่านผู้เจริญสมถกรรมฐานจนจิตตั้งมั่นเป็นอัปปนา บรรลุฌานขั้นใดขั้นหนึ่ง สามารถข่มนิวรณ์ไว้ได้ตลอดระยะเวลาที่อยู่ในฌานนั้น แต่เมื่อออกจากฌานแล้วกิเลสคือนิวรณ์นั้นก็สามารถกำเริบขึ้นอีกได้
อ่านต่อปหาน 3 ประการ
ปริญญา 3 ประการ

ปริญญา 3 ประการ

ปริญญา แปลว่า การกำหนดรู้ การทำความเข้าใจโดยครบถ้วน เป็นข้อปฏิบัติในการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน ที่จะนำไปสู่ความรู้แจ้งในสภาวธรรมทั้งหลายตามความเป็นจริง ผู้เจริญวิปัสสนาต้องกำหนดรู้ขันธ์ 5 ตามหลักปริญญาทั้ง 3 ประการนี้ จึงจะสามารถบรรลุผลได้
อ่านต่อปริญญา 3 ประการ
นิมิต 3 ประการ

นิมิต 3 ประการ

นิมิต แปลว่า เครื่องหมาย เครื่องกำหนด หมายถึง เครื่องหมายสำหรับให้จิตกำหนดในการเจริญกรรมฐาน หรือภาพที่เห็นในใจอันเป็นตัวแทนของสิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์กรรมฐาน เพื่อเป็นอุบายผูกจิตให้สงบตั้งมั่น แบ่งเป็น 3 ระดับ ตามความละเอียดของสมาธิ
อ่านต่อนิมิต 3 ประการ
ธรรมนิยาม 3 ประการ

ธรรมนิยาม 3 ประการ

ธรรมนิยาม แปลว่า กำหนดแห่งธรรมดา ความเป็นไปอันแน่นอนโดยธรรมดา หรือ กฎธรรมชาติ หมายถึง กฎธรรมชาติที่ไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้ สรรพสิ่งทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ล้วนต้องเป็นไปตามกฎนี้ มี 3 อย่าง
อ่านต่อธรรมนิยาม 3 ประการ