อัคคิปาริจริยา 3 ประการ

อัคคิปาริจริยา 3 ประการ

อัคคิปาริจริยา แปลว่า ไฟที่ควรบำรุง หมายถึง บุคคลที่ควรบูชาด้วยใส่ใจบำรุงเลี้ยง และให้ความเคารพนับถือตามสมควรแก่ฐานะ มี 3 ประเภท
อ่านต่ออัคคิปาริจริยา 3 ประการ
กุศลวิตก 3 ประการ

กุศลวิตก 3 ประการ

กุศลวิตก คือ ความตรึกที่เป็นกุศล ความนึกคิดที่ดี ความคิดที่เป็นไปในทางที่ดี เป็นความคิดที่ถูกทาง เป็นความนึกคิดที่นำพาไปสู่ความสุขความเจริญ มี 3 ประการ
อ่านต่อกุศลวิตก 3 ประการ
อกุศลวิตก 3 ประการ

อกุศลวิตก 3 ประการ

อกุศลวิตก คือ ความตรึกที่เป็นอกุศล ความนึกคิดที่ไม่ดี เป็นความคิดที่ผิดทาง เป็นความคิดที่เป็นสาเหตุแห่งการกระทำความชั่วนานาประการ แบ่งเป็น 3 อย่าง
อ่านต่ออกุศลวิตก 3 ประการ
สามัญญลักษณะ (ไตรลักษณ์) 3 ประการ

สามัญญลักษณะ (ไตรลักษณ์) 3 ประการ

สามัญลักษณะ หรือ ไตรลักษณ์ คือ ลักษณะที่เสมอกันของสังขารทั้งหลาย อาการที่เป็นเครื่องกำหนดหมายให้รู้ถึงความจริงของสภาวธรรมทั้งหลาย ที่เป็นอย่างนั้นตามธรรมดาของมัน คือทุกสิ่งทุกอย่างล้วนตกอยู่ในลักษณะเหล่านี้ทั้งหมด มี 3 ประการ
อ่านต่อสามัญญลักษณะ (ไตรลักษณ์) 3 ประการ
บุญกิริยาวัตถุ 10 ประการ

บุญกิริยาวัตถุ 10 ประการ

บุญกิริยาวัตถุ แปลว่า ที่ตั้งแห่งการทำบุญ หรือวิธีทำบุญ วิถีแห่งการทำบุญ ในพระไตรปิฎก ท่านจำแนกบุญกิริยาวัตถุไว้ 3 ประการ แต่พระอรรถกถาจารย์นำมาขยายให้มีความหลากหลายขึ้นเป็น 10 ประการ
อ่านต่อบุญกิริยาวัตถุ 10 ประการ
บุญกิริยาวัตถุ 3 ประการ

บุญกิริยาวัตถุ 3 ประการ

บุญกิริยาวัตถุ แปลว่า ที่ตั้งแห่งการทำบุญ หรือ วิธีการทำบุญ วิธีที่ก่อให้เกิดบุญ เป็นการแนะนำช่องทางสำหรับการบำเพ็ญบุญกุศลในพุทธศาสนา ท่านจำแนกเป็น 3 อย่าง
อ่านต่อบุญกิริยาวัตถุ 3 ประการ
อปัณณกปฏิปทา 3 ประการ

อปัณณกปฏิปทา 3 ประการ

อปัณณกปฏิปทา แปลว่า การปฏิบัติที่ไม่ผิด หมายถึง การปฏิบัติที่ไม่ผิดพลาดคลาดเคลื่อนจากความเป็นอริยะ เป็นหลักปฏิบัติที่จะนำผู้ปฏิบัติให้ถึงความเจริญงอกงามในธรรม เป็นผู้ดำรงอยู่ในวิถีแห่งความรอดพ้นจากทุกข์อย่างแน่นอนไม่มีผิดพลาด มี 3 ประการ
อ่านต่ออปัณณกปฏิปทา 3 ประการ
สัปปุริสบัญญัติ 3 ประการ

สัปปุริสบัญญัติ 3 ประการ

สัปปุริสบัญญัติ แปลว่า บัญญัติของสัตบุรุษ ข้อปฏิบัติที่สัตบุรุษวางเป็นแบบไว้หรือกล่าวสรรเสริญไว้ เป็นธรรมที่มีมาก่อนพุทธศาสนา เป็นข้อปฏิบัติที่บัณฑิตชนในยุคนั้นบัญญัติขึ้นและถือปฏิบัติสืบต่อกันมา และพระพุทธเจ้าก็ทรงสรรเสริญและทรงให้การรับรองไว้ มี 3 ประการ
อ่านต่อสัปปุริสบัญญัติ 3 ประการ
อกุศลมูล 3 ประการ

อกุศลมูล 3 ประการ

โลภะ คือ ความอยากได้ หมายเอาความอยากได้ในทางที่ผิด อยากได้แล้วแสวงหาหรือไขว่คว้าเอามาในทางที่ผิดหรือด้วยวิธีที่ผิด เช่น อยากได้เงินแล้วไปปล้นหรือไปขโมยเอา ทุจริตคดโกงเอา ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นต้น เหล่านี้ล้วนแต่เป็นความชั่วที่เกิดจากความโลภอยากได้ทั้งนั้น
อ่านต่ออกุศลมูล 3 ประการ
อริยบุคคล 7 ประเภท

อริยบุคคล 7 ประเภท

อริยบุคคล แปลว่า บุคคลผู้เป็นอริยะ หรือ บุคคลผู้ประเสริฐ ได้แก่ บุคคลผู้ข้ามพ้นความเป็นปุถุชนได้แล้ว บรรลุธรรมขั้นสูงในพระพุทธศาสนา ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคขึ้นไป ทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์
อ่านต่ออริยบุคคล 7 ประเภท
พระอรหันต์ 5 ประเภท

พระอรหันต์ 5 ประเภท

พระอรหันต์ 5 ประเภท 1. ปัญญาวิมุต ผู้หลุดพ้นด้วยอำนาจแห่งปัญญา 2. อุภโตภาควิมุต ผู้หลุดพ้นทั้งสองส่วน 3. เตวิชชะ ผู้ได้วิชชา 3 4. ฉฬภิญญะ ผู้ได้อภิญญา 6 5. ปฏิสัมภิทัปปัตตะ ผู้บรรลุปฏิสัมภิทา 4
อ่านต่อพระอรหันต์ 5 ประเภท
พระอรหันต์ 4 ประเภท

พระอรหันต์ 4 ประเภท

พระอรหันต์ หมายถึง ผู้ห่างไกลจากกิเลส จัดเป็นพระอริยบุคคลชั้นสูงสุดในบรรดาพระอริยบุคคล 4 ประเภท พระอรหันต์นั้น ถือว่าเป็นผู้หมดกิเลสเหมือนกันทั้งหมด แต่จะมีคุณสมบัติหรือคุณพิเศษแตกต่างกันไปบ้าง ท่านแบ่งพระอรหันต์ออกเป็น 2 ประเภทบ้าง 4 ประเภทบ้าง 5 ประเภทบ้าง
อ่านต่อพระอรหันต์ 4 ประเภท
พระโสดาบัน 3 ประเภท

พระโสดาบัน 3 ประเภท

โสดาบัน แปลว่า ผู้ถึงกระแส คือ ผู้เข้าถึงกระแสที่จะนำไปสู่พระนิพพาน เป็นพระอริยบุคคลประเภทแรกใน 4 ประเภท สามารถละสังโยชน์ขั้นต่ำได้ 3 ประการ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และ สีลัพพตปรามาส
อ่านต่อพระโสดาบัน 3 ประเภท